วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2556

4.คุณลักษณะของ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด

ลักษณะของห้างหุ้นส่วนสามัญ
ห้างหุ้นส่วนจะมีต้องมีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงใจมาเข้ากันเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งผลกำไรที่พึงได้จากกิจกรรมที่ทำนั้น  ซึ่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรียกว่า “ห้างหุ้นส่วน” การเป็นห้างหุ้นส่วนกฎหมายไม่บังคับให้จะทะเบียน  จะจดหรือไม่จดทะเบียนก็ได้      ถ้าไม่จดทะเบียนเรียกว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญ”  แต่ถ้าจดทะเบียนกับนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทเรียกวา “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล”  หรือ “ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน”
ลักษณะของกิจการบริษัทจำกัด

      บริษัทจำกัด คือ  บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนออกเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่าๆกันผู้ถือหุ้นต่างรับผิดชอบจำกัดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือมีลักษณะสำคัญดังนี้

1. มีการแบ่งทุนออกเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่าๆ กัน อันเป็นการแตกต่างกับหุ้นในห้างหุ้นส่วนสามัญและห้างหุ้นส่วนจำกัดซึ่งอาจมีมูลค่าไม่เท่ากัน มูลค่าของหุ้นหนึ่งๆ ในบริษัทจำกัดนั้นต้องไม่ต่ำกว่า 5 บาท

2. มีผู้ถือหุ้นไม่ถึง 100 คนรวมทั้งนิติบุคคล ถ้ามีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ถือหุ้นหุ้นเดียวร่วมกัน ให้นับเป็นผู้ถือหุ้น 1 คน นับตั้งแต่วันหรือหลังวันที่พระราชบัญญัติมหาชนจำกัด พ.ศ. 2521 ใช้บังคับ บริษัทใดซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีผู้ถือหุ้นไม่ถึง 100 คน แต่ภายหลังมีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ต้องดำเนินการแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด หรือลดจำนวนผู้ถือหุ้นให้เหลือไม่ถึงจำนวน 100 คน ภายใน 1 ปี นับตั้งแต่วันที่บริษัทนั้นมีผู้ถือหุ้นเกินจำนวนดังกล่าว

3. ผู้ถือหุ้นในบริษัทจำกัดต่างรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ เช่นหุ้นในบริษัทจำกัดแห่งหนึ่ง มีมูลค่าหุ้นละ 100 บาท นายแดงถือหุ้นจำนวน 1 หุ้น ได้ชำระค่าหุ้นไปแล้ว 75 บาท จึงยังคงต้องรับผิดส่งเงินใช้ค่าหุ้นอีกเพียง 25 บาทเท่านั้น

4. คุณสมบัติของผู้ถือหุ้นไม่เป็นข้อสาระสำคัญ แม้ผู้ถือหุ้นคนใดตาย ล้มละลาย หรือตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ บริษัทจำกัดนั้นก็ไม่เลิกกัน ผู้ถือหุ้นสามารถโอนหุ้นของตนให้แก่บุคคลอื่นได้ โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมของบริษัท เว้นแต่จะเป็นหุ้นชนิดระบุชื่อลงในใบหุ้น ซึ่งมีข้อบังคับของบริษัทกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น นอกจากนี้ถ้าผู้ถือหุ้นของบริษัทตาย ทายาทของผู้ถือหุ้นนั้นก็รับมรดกเป็นผู้ถือหุ้นต่อไปได้ โดยไม่จำต้องได้รับความยินยอมจากบริษัท

ลักษณะของบริษัทมหาชนจำกัด 
บริษัทมหาชนจำกัด คือ บริษัทประเภทซึ่งตั้งขึ้นด้วยประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจำกัดไม่เกินจำนวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชำระ และบริษัทดังกล่าวได้ระบุความ ประสงค์เช่นนั้นไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิ
อาจสรุปได้ว่า พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 ได้กำหนดลักษณะโครงสร้างของบริษัทมหาชนจำกัดไว้ ดังนี้
1. จำนวนผู้ถือหุ้น มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป
2. ทุนจดทะเบียน ไม่มีการกำหนดจำนวนทุนจดทะเบียนขั้นต่ำไว้
3. มูลค่าหุ้นและการชำระเงินค่าหุ้น หุ้นของบริษัทมหาชนจำกัดแต่ละหุ้นจะต้องมีมูลค่าเท่ากัน และต้องชำระค่าหุ้นครั้งเดียวเต็มมูลค่าหุ้น
4. จำนวนกรรมการ ต้องมีจำนวนกรรมการของบริษัทไม่น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่งต้องมีที่อยู่ในประเทศไทย

3.อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ ผู้กระทำผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสำคัญ มีการจำแนกไว้ดังนี้
1.Novice เป็นพวกเด็กหัดใหม่(newbies)ที่เพิ่งเริ่มหัดใช้คอมพิวเตอร์มาได้ไม่นาน หรืออาจหมายถึงพวกที่เพิ่งได้รับความไว้วางใจให้เข้าสู่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.Darnged person คือ พวกจิตวิปริต ผิดปกติ มีลักษณะเป็นพวกชอบความรุนแรง และอันตราย มักเป็นพวกที่ชอบทำลายทุกสิ่งที่ขวางหน้าไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ หรือสภาพแวดล้อม

3.Organized Crime พวกนี้เป็นกลุ่มอาชญากรที่ร่วมมือกันทำผิดในลักษณะขององค์กรใหญ่ๆ ที่มีระบบ พวกเขาจะใช้คอมพิวเตอร์ที่ต่างกัน โดยส่วนหนึ่งอาจใช้เป็นเครื่องหาข่าวสาร เหมือนองค์กรธุรกิจทั่วไป อีกส่วนหนึ่งก็จะใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นตัวประกอบสำคัญในการก่ออาชญากรรม หรือใช้เทคโนโลยีกลบเกลื่อนร่องร่อย ให้รอดพ้นจากเจ้าหน้าที่

4.Career Criminal พวกอาชญากรมืออาชีพ เป็นกลุ่มอาชญากรคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่มาก กลุ่มนี้น่าเป็นห่วงมากที่สุด เนื่องจากนับวันจะทวีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยจับผิดแล้วจับผิดเล่า บ่อยครั้ง
5. Com Artist คือพวกหัวพัฒนา เป็นพวกที่ชอบความก้าวหน้าทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ส่วนตน อาชญากรประเภทนี้จะใช้ความก้าวหน้า เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และความรู้ของตนเพื่อหาเงินมิชอบทางกฎหมาย

6.Dreamer พวกบ้าลัทธิ เป็นพวกที่คอยทำผิดเนื่องจากมีความเชื่อถือสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างรุ่นแรง

7.Cracker หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะทางคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี จนสามารถลักลอบเข้าสู่ระบบได้ โดยมีวัตถุประสงค์เข้าไปหาผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเข้าไปทำลายหรือลบไฟล์ หรือทำให้คอมพิวเตอร์ใช้การไม่ได้ รวมถึงทำลายระบบปฏิบัติการ

2. นิติกรรม แบบนิติกรรม ความสมบูรณ์ของนิติกรรม

นิติกรรม  หมายความว่าการใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร  มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล  เพื่อจะก่อ  เปลี่ยนแปลง  โอน สงวน  หรือระงับซึ่งสิทธิ

แบบของนิติกรรม หรือกรอบพิธีภายนอกของนิติกรรมนั้น  โดยหลักแล้วแม้นิติกรรมจะสมบูรณ์เมื่อมีการแสดงเจตนาก็ตาม  แต่การแสดงเจตนาอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ ต้องทำตามแบบหรือกรอบพิธีภายนอกของนิติกรรมเสียก่อน  มิฉะนั้นมีผลเป็นโมฆะ
กล่าวโดยสรุป  แบบของนิติกรรม  หมายถึงวิธีการหรือพิธีการที่กฎหมายกำหนดและบังคับให้ผู้แสดงเจตนาทำนิติกรรมต้องปฏิบัติตาม  เพื่อความสมบูรณ์ของนิติกรรมที่ทำ
อย่างไรก็ตามกฎหมายไม่ได้กำหนดแบบนิติกรรมในทุกเรื่อง  หากนิติกรรมใดกฎหมายไม่ได้กำหนดแบบไว้  นิติกรรมนั้นอาจสมบูรณ์ได้เพียงการแสดงเจตนา
ตัวอย่าง  เช่นต้องการซื้อข้าวผัด  1  ห่อ  เพียงสั่งข้าวผัดและคนขายผัดข้าวผัดส่งให้  เป็นการแสดงเจตนาด้วยวาจา  เพียงเท่านี้นิติกรรมซื้อขายข้าวผัดก็เกิดแล้ว กฎหมายไม่ได้กำหนดแบบของนิติกรรม

ความสมบูรณ์ของนิติกรรม ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของนิติกรรมว่าชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
วัตถุประสงค์ของนิติกรรม คือ ประโยชน์อันเป็นผลสุดท้ายที่ผู้แสดงเจตนาทำนิติกรรมประสงค์จะให้เกิดขึ้น หรือเป็นผลที่เกิดขึ้นมาจากนิติกรรมที่ตนแสดงเจตนา เช่น การซื้อปืนมาก็เพื่อจะได้กรรมสิทธิ์ ดังนั้น วัตถุประสงค์ในการซื้อปืนก็คือกรรมสิทธิ์ในตัวปืน
ส่วนมูลเหตุชักจูงใจให้ทำนิติกรรม คือ สิ่งที่เป็นมูลเหตุให้มีการทำนิติกรรม เช่น ผู้ซื้อซื้อปืนมาก็เพื่อใช้ยิงสัตว์, แข่งขันกีฬา หรือนำไปฆ่าคน ซึ่งโดยปกติแล้วมูลเหตุชักจูงใจจะเป็นเรื่องภายในจิตใจของผู้ทำนิติกรรม
ดังนั้นกฎหมายจึงพิจารณาเพียงวัตถุประสงค์ของนิติกรรมเท่านั้นในการพิจารณาว่านิติกรรมชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ เว้นแต่มูลเหตุชักจูงใจดังกล่าวจะล่วงรู้ถึงอีกฝ่ายหนึ่งจึงจะถือว่ามูลเหตุชักจูงใจกลายมาเป็นวัตถุประสงค์ของนิติกรรม เช่น ผู้ซื้อซื้อปืนมาก็เพื่อนำไปฆ่าคน หากผู้ขายไม่รู้นิติกรรมครั้งนี้ก็สมบูรณ์ เพราะถือว่าวัตถุประสงค์ของการซื้อในครั้งนี้ก็คือกรรมสิทธิ์ในตัวปืนเท่านั้น แต่หากผู้ขายรู้ว่าผู้ซื้อซื้อปืนไปก็เพื่อนำไปฆ่าคนก็จะทำให้มูลเหตุชักจูงใจของผู้ซื้อ กลายเป็นวัตถุประสงค์ของนิติกรรมอันทำให้นิติกรรมซื้อขายในครั้งนี้ไม่สมบูรณ์ ตกเป็นโมฆะ

1.ที่มาของกฏหมายไทย

ประวัติและความเป็นมาของกฎหมายไทย
ยุคแรกสมัยสุโขทัย
ประเทศไทย ของเราดารงความเป็นเอกราชมาเนิ่นนานมาหลายร้อยปี โดยที่น้อยคนที่จะได้รับรู้ถึงความเป็นมาของประวัติศาสตร์ กฎหมายไทย กฎหมายไทยมีการวิวัฒนาการมานาน เช่นเดียวกันกับกฎหมายของประเทศต่างๆ ก่อนที่ประเทศไทยจะได้ใช้ระบบประมวลกฎหมาย ไทยก็มีระบบกฎหมายใช้เป็นของตนเองเช่นกัน ซึ่งจะอยู่ในรูปของกฎหมายจารีตประเพณี ซึ่งได้ถูกปฏิบัติสืบต่อกันมาจนยอมรับว่าเป็นกฎหมายในที่สุด และก็ได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในกาลต่อมา เพื่อให้สมาชิกในชุมชนได้รู้และปฏิบัติตาม รวมถึงมีความสาคัญระหว่างบุคคลกับรัฐ กฎหมายจึงต้องมีเนื้อหาหรือองค์ประกอบสาคัญที่จะทาให้ต่างกับศีลธรรมคือ กฎหมายจะต้องเป็นรัฐาธิปัตย์ ที่มีสภาพบังคับใช้ให้ประชาชนยอมรับและต้องปฏิบัติตาม
นับตั้งแต่ประเทศไทยมีการรวมกันเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันระหว่างเจ้าครองนครในอดีต ๓ พระองค์อันได้แก่ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชแห่งอาณาจักรสุโขทัย พ่อขุนงาเมืองแห่งแคว้นพะเยา และพญามังรายแห่งอาณาจักรล้านนา นั้นได้ปรากฏว่า ในยุคที่พญามังรายได้ปกครองบ้านเมืองนั้นพระองค์ได้ทรงกาหนดรูปแบบการปกครองภายใต้กฎหมายที่เรียกกันในชื่อ‚มังรายศาสตร์‛ โดยมีการปกครองแบบพระโอรสและเครือญาติไปปกครองตามหัวเมืองต่าง ๆ และเข้าใจว่าตัวกฎหมายฉบับนี้คงได้รับอิทธิพลมาจาก กฎหมายธรรมศาสตร์ ของมอญเป็นต้น เช่นเดียวกันการปกครองในสมัยพ่อขุนรามคาแห่งซึ่งนับเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วงและอาณาจักรสยามได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก โดยมี กฎหมายแรกที่ปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง ( ปีพ.ศ.๑๘๒๘-๑๘๓๕ ) เรียกกันว่า กฎหมายสี่บท ได้แก่
๑.) บทเรื่องมรดก
๒.)บทเรื่องที่ดิน
๓.)บทวิธีพิจารณาความ
๔.)บทลักษณะฎีกา
และมีการเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะโจรลงไปในครั้งรัชสมัยพญาเลอไทย กษัตริย์สุโขทัยองค์ที่ ๔ ซึ่งมีส่วนของการนากฎหมายพระธรรมศาสตร์มาใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพราหมณ์ ซึ่งได้มีส่วนขยาย ที่เรียกว่า ‘พระราชศาสตร์’ มาใช้ประกอบด้วย
ยุคกรุงศรีอยุธยา
ครั้นมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่นับว่าเป็นราชธานีแห่งที่สองของไทย ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐ พระมหากษัตริย์ในยุคนั้น ได้สร้าง กฎหมายซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ ไว้มากมาย พระราชศาสตร์เหล่านี้ เมื่อเริ่มต้นได้อ้างถึงพระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูเป็นแม่บท เรียกกันว่า ‘มนูสาราจารย์’ พระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูสาราจารย์นี้ เป็นกฎหมายที่มีต้นกาเนิดในอินเดีย เรียกว่าคาภีร์พระธรรมศาสตร์ ต่อมามอญได้เจริญและปกครอง
ดินแดนแหลมทองมาก่อน ได้แปลต้นฉบับคาภีร์ภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาบาลีเรียกว่า ‘คาภีร์ธรรมสัตถัม’ และได้ดัดแปลงแก้ไขบทบัญญัติบางเรื่องให้มีความเหมาะสมกับชุมชนของตน ต่อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัยพระนครศรีอยุธยาจึงนาเอาคาภีร์ของมอญของมอญมาเป็นหลักในการบัญญัติกฎหมายของตน ลักษณะกฎหมายในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อกันว่าการออกกฎหมายในสมัยก่อนนั้น จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับเท่านั้น ได้แก่ ฉบับที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนางข้าราชการทั่วไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนาไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้พิพากษาเพื่อใช้ในการพิจารณาอรรถคดี
ยุคกรุงธนบุรี
กฎหมายสมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากเป็นระยะเวลาที่ต้องกอบบ้านกู้เมือง หรือก่อบ้านสร้างเมืองประกอบกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มีพระราชหฤทัยในการคิดป้องกันบ้านเมืองเพื่อมิให้ข้าศึกมารุกรานและเน้นการรวบรวมกลุ่มคนไทยที่ต้องอยู่กับอย่างกระจัดกระจาย ล้มหายตายจากและถูกข้าศึกเทครัวกลับไปยังประเทศพม่า ประกอบกับบ้านเมืองหลังจากเกิดศึกสงคราม ได้รับความบอบช้ามาอย่างหนัก และพระองค์มีจิตคิดฝักใฝ่ในเรื่องธรรมมะในช่วงระยะเวลาสุดท้ายของพระชนม์ชีพ กฎหมายของกรุงธนบุรีจึงอ้างอิงมาจากกรุงศรีอยุธยาเสียเป็นส่วนใหญ่
ยุคกรุงรัตนโกสินทร์
กฎหมายสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยนั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่๑ ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อนมานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ ที่จะทาให้ง่ายต่อการศึกษาและนามาใช้ จึงโปรดเกล้าให้มีการชาระกฎหมายขึ้นมาใหม่ ในคาภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยนามารวบรวมกฎหมายเดิมเข้าเป็นลักษณะหมวด หมู่ที่จะทาให้ง่ายต่อการค้นคว้า สาเร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ และได้ทรงนามาประทับตราเป็นตราพระราชสีห์ ซึ่งเป็นตราของกระทรวงมหาดไทย ตราคชสีห์ ของพระทรวงกลาโหม และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราของคลังบนหน้าปกของกฎหมายแต่ละเล่ม จาแนกตามลักษณะระเบียบของการปกครองในสมัยนั้น กฎหมายฉบับนั้นเรียกกันว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ ถือเป็นประมวลกฎหมายของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระธรรมศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว ยังคงมีกฎหมายสาคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะทาส ลักษณะโจร และต่อมาได้มีการตราขึ้นอีกหลายฉบับ ต่อมาประเทศไทยมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศต่างๆมาก พึงเห็นได้ว่ากฎหมายเดิมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยะประเทศ จนทาให้ไทยต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต นอกจากนั้นยังไม่สามารถนามาใช้บังคับได้ทุกกรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม่ อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส
ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหม่ และได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น และลังกามาเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และในสมัยนั้นพระราชโอรสของพระองค์ที่ได้ทรงให้ไปศึกษาด้านกฎหมายคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ก็ได้ร่วมกันแก้ไขชาระกฎหมายตราสามดวงเดิมขึ้นใหม่ และจัดพิมพ์ลงในหนังสือเป็นรูปเล่ม ขึ้นในชื่อ
ของ ‘กฎหมายราชบุรี’ ในปีพ.ศ. ๒๔๔๐ และในการนี้เองพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชาระและร่างกฎหมายขึ้นมาใหม่ ทาการร่างกฎหมายลักษณะอาญา ร่างกฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส กฎหมายวิธีสบัญยัติ ร่างประมวลกฎหมายแพ่งและกฎหมายที่สาคัญหลายๆฉบับ จนพระบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์หรือพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ ได้รับพระราชทินนามว่าเป็นพระบิดาแห่งกฎหมายไทย และกาหนดให้วันที่ ๗ เดือนสิงหาคมของทุกปีเป็นวันรพี
เนื่องจากสังคมโลก มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นในทุกวินาทีที่โลกหมุนไป ประชาชนในทุกส่วนของโลกมีการติดต่อซึ่งกันและกันมีการพัฒนาการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงสังคมวัฒนธรรมและมีความรู้สึกนึกคิดที่พัฒนายกระดับสังคมตนเอง ขึ้นตามกระแสโลก จึงมีการเปรียบเทียบระหว่างสังคมของตนเองและสังคมของผู้อื่น ตามวิสัยของปุถุชน และเห็นว่าการปกครองแบบเก่า ๆ คือระบบสมบูรณาญาสิทธิราชมีความเหลื่อมล้ากันทางด้านสังคมมากมาย และการปกครองเมืองต้องขึ้นอยู่กับพระราชอานาจของผู้ปกครองนคร ซึ่งเหมือนกับว่าหากระยะเวลาที่บ้านเมืองมีผู้ปกครองที่มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม มีศีลธรรม และมีความปรีชาสามารถ เห็นแก่บ้านเมืองและประโยชน์สุขของประชาชนก็ถือได้ว่า เป็นโชคอันมหาศาล แต่หากผู้ปกครองบ้านเมืองไม่สนในต่อกิจการบ้านเมือง ก็ถือว่าเป็นคราวโชคร้ายของบ้านเมืองไป
ดังจะกล่าวถึงประเทศฝรั่งเศส ที่มีการเหลื่อมล้าระหว่างชนชาติมาช้านาน มีการแบ่งชนชั้นการปกครองในประเทศเป็น ๓ ชั้น หรือ ๓ วรรณะ คือ
๑.ชนชนของพระสมณะ ซึ่งแบ่งออกเป็นพระสมณะสูง และพระสมณะต่า
๒.ชนชั้นขุนนาง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มคือกลุ่มที่สืบเชื้อชาติมาจากบรรพบุรุษ และ
นักปราชญ์หรือปัญญาชน
๓.ชนชั้นสามัญ แบ่งเป็น ๒ กลุ่มเช่นกัน คือกลุ่มพ่อค้า และผู้มีการศึกษา และทาส
ด้วยอิทธิพลของธรรมชาติของปุถุชนนี้เองที่กระตุ้นความต้องการของคน ที่อยากให้มีความทัดเทียมกันเกิดขึ้นในสังคมที่ตนเองได้อาศัยอยู่ จึงเกิดความต้องการอยากที่จะทาลายล้างระบบการปกครองแบบเก่า ๆ เพื่อที่ตนเองจะได้เป็นผู้ที่มีอานาจในการเมืองบ้าง จึงมีการชุมนุมกันเพื่อเรียกร้องหาการร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในที่สุดวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๗๘๙ ทหารและกลุ่มกาลังของประชาชนก็ได้พร้อมใจกันทาลายล้างอานาจพระมหากษัตริย์ มี นโปเลียน โบนาปาร์ตเป็นผู้นาที่สาคัญนั่นเอง
ประเทศไทย หลังจากที่สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๕ ได้ทรงเสด็จประพาสไปยังนานาประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เพื่อที่ทรงศึกษาวัฒนธรรมประเพณี และเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ เพื่อที่จะทรงศึกษาและนาอารยะธรรมใหม่ ๆ มาพัฒนาประเทศไทยให้มีความทัดเทียมกับนานา ประเทศ จึงได้โปรดเกล้าส่งพระราชโอรสที่ทรงเล็งเห็นว่ามีพระปรีชาสามารถหรือความถนัดในเรื่องของการศึกษาแขนงใดใด ให้ไปศึกษาต่อยังประเทศที่มีความเจริญในแขนงนั้น เพื่อที่จะนาความรู้มาพัฒนาประเทศต่อไป
จวบจนถึงรัชสมัยพระสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ ที่ได้ทรงไปศึกษายังต่างประเทศและมีโอกาสที่ได้เรียนรู้การปกครองรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่าการปกครองแบบประชาธิปไตย ทรงเล็งเห็นว่าในอนาคตข้างหน้าประเทศไทยจักต้องมีความเจริญทัดเทียมนานาอารยะประเทศ จึงทรงทดลองการสร้างเมืองจาลองขึ้นในพระราชวัง มีการปกครองด้วยตนเอง มีการเลือกตั้งในระบบเทศาภิบาล (เทศบาลในปัจจุบัน) ชื่อเมือง ‚ดุสิตธานี‛ เพื่อเป็นเมืองต้นแบบก่อนที่จะทรงมอบอานาจให้กับประชาชนชาวไทย ได้มีการปกครองตนเองก่อน และทรงเห็นว่าประชาชนชาวไทยในขณะนั้นส่วนใหญ่ ยังไม่มีความพร้อมที่จะได้รับอานาจการปกครองดังกล่าว เพราะประชาชนของพระองค์ส่วนใหญ่ ยังมีการศึกษาที่ยังไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐาน แต่ก่อนที่ประชาชาชนชาวไทยจะทันได้ใช้หรือได้เห็นระบบการปกครองนี้ พระองค์ก็ทรงสวรรคตเสียก่อน
ในรัชสมัยต่อมาสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ ได้ทรงปกครองบ้านเมือง พระองค์ทรงมีพระพลานามัยที่ไม่ค่อยแข็งแรงนัก ต้องเข้ารับการรักษาตัวในสถานที่พยาบาลบ่อย ๆ ทาให้การออกว่าราชการของพระองค์เป็นไปอย่างไม่เต็มที่ และบรรดานักเรียนทุนหลวงที่ทางรัฐบาลไทยได้ส่งไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ เช่น เยอรมัน ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เพื่อที่จะกลับมารับราชการสนองพระเดชพระคุณ ได้เรียนวิชาต่าง ๆ รวมถึงวิชากฎหมาย และเห็นว่าประเทศไทยยังมีความล้าหลังในการปกครองประเทศกว่านานา ประเทศตะวันตกอยู่มาก ด้วยความเป็นนักเรียนหนุ่มอายุน้อย และอยากเห็นการพัฒนาประเทศเป็นไปได้ด้วยความรวดเร็วที่สุดจึงได้มีการติดต่อประสานงานจัดตั้งคณะราษฎร์ขึ้นเพื่อที่จะปฏิวัติการปกครองประเทศขึ้นมาใหม่ โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด ตามแบบนานา อารยะประเทศที่ตนได้ไปศึกษาและเรียนรู้มามีการแบ่งสายการทางานเป็น ๒ สาย คือสายราษฎรและสายทหาร โดยมีผู้นาที่สาคัญดังนี้
๑.สายของพลเรือนนาโดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือนายปรีดี พนมยงค์ และพรรคพวก
๒. สายทหาร นาโดย นายทหารชั้นสูงระดับผู้บังคับการ จานวน ๓ ท่านคือ พระยาทรงสุเดช พระยาพหลพลพยุหเสนา และพระประศาสตร์พิทยายุทธ์ได้การกระทาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทย จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นระบบประชาธิปไตย ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้เวลาร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราว เพียง ๒ วัน ก็แล้วเสร็จในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ทรงลงพระปรมาภิไธย ก่อนมีการแก้ไขเพิ่มแล้ว ประกาศใช้ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยมี พระยามโนปกรณ์ นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย
นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากปี พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา ๗๕ ปีแล้ว ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญทั้งถาวรและชั่วคราวรวมกัน ๑๗ ฉบับ เฉลี่ยแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับหนึ่งใช้ได้เพียง ๔ ปี ๓ เดือนเท่านั้น

วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

งานสอบแก้

ประวัติและที่มาของ iOS

 iOS
        (ก่อนหน้าiPhone OS ) เป็นระบบปฏิบัติการมือถือที่พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัท Apple Incออกจำหน่ายในปี 2007 สำหรับiPhoneและiPod Touch ของมันได้รับการขยายเพื่อรองรับอุปกรณ์ที่แอปเปิ้ลอื่น ๆ เช่นiPadและโทรทัศน์แอปเปิ้ล
       ซึ่งแตกต่างจากไมโครซอฟท์ ’s Windows CE (Windows โทรศัพท์ ) และGoogle ’s Android , แอปเปิ้ลไม่ได้ใบอนุญาตสำหรับการติดตั้ง iOS บนฮาร์ดแวร์ที่ไม่ใช่แอปเปิ้ล ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2012 , แอปเปิ้ลที่ App Storeมีมากกว่า 650,000 โปรแกรม iOS ซึ่งได้รับการเรียกรวมดาวน์โหลดมากกว่า 30 ล้านครั้ง มันมีส่วนแบ่ง 16% จากมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการหน่วยที่ขายในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2010 หลังทั้งสองของ Google ’s AndroidและNokia ’s Symbian ในเดือนพฤษภาคม 2010 ในประเทศสหรัฐอเมริกาก็คิดเป็น 59% ของการใช้โทรศัพท์มือถือบนเว็บของข้อมูล(รวมถึงการใช้ทั้งบนไอพอดทัชและไอแพด )
         ส่วนติดต่อผู้ใช้ของ iOS ขึ้นอยู่กับแนวคิดของการจัดการตรงโดยใช้ท่าทางสัมผัสหลาย . องค์ประกอบการควบคุมการเชื่อมต่อประกอบด้วยเลื่อนสวิตช์และปุ่ม เพื่อตอบสนองผู้ใช้ป้อนเป็นได้ทันทีและให้อินเตอร์เฟซของเหลว ปฏิสัมพันธ์กับระบบปฏิบัติการรวมถึงท่าทางเช่นรูด , แตะ , หยิกและหยิกย้อนกลับซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายเฉพาะในบริบทของระบบปฏิบัติการ iOS และอินเตอร์เฟซแบบมัลติทัชของมัน ภายในaccelerometersถูกนำมาใช้โดยการใช้งานบางอย่างเพื่อตอบสนองต่อการสั่นของอุปกรณ์ (หนึ่งผลเหมือนกันคือคำสั่ง undo) หรือหมุนมันในสามมิติ (หนึ่งผลร่วมกันคือการเปลี่ยนจากแนวตั้งเป็นโหมดแนวนอน)
iOS มาจากOS Xกับที่มันหุ้นดาร์วินรากฐานและดังนั้นจึงเป็นUnixระบบปฏิบัติการ
ใน Ios, มีสี่เป็นชั้น abstractionหลักของระบบปฏิบัติการชั้น: Core Servicesชั้นชั้น Media, และโกโก้ Touchชั้น รุ่นปัจจุบันของระบบปฏิบัติการ (IOS 5.1.1) อุทิศ 1-1.5 GB ของหน่วยความจำแฟลชของอุปกรณ์สำหรับพาร์ติชันระบบที่ใช้ประมาณ 800 MB ของพาร์ติชันที่ (ที่แตกต่างกันไปตามรุ่น) สำหรับ iOS ตัวเอง
 ระบบปฏิบัติการได้เปิดตัวกับiPhoneที่Macworld Conference & Expo , 9 มกราคม 2007 และเปิดตัวในเดือนมิถุนายนของปีที่ในตอนแรกแอปเปิ้ลวรรณกรรมการตลาดไม่ได้ระบุชื่อแยกต่างหากสำหรับระบบปฏิบัติการที่ระบุเพียง ที่ “iPhone รัน OS X” ในขั้นต้นการใช้งานของบุคคลที่สามไม่ได้รับการสนับสนุน สตีฟจ็อบส์เป็นที่ถกเถียงกันว่านักพัฒนาสามารถสร้างโปรแกรมประยุกต์บนเว็บว่า “จะทำตัวเหมือนปพลิเคชันบน iPhone พื้นเมือง” ที่ 17 ตุลาคม 2007, แอปเปิ้ลประกาศว่าซอฟท์แว Kit พื้นเมืองพัฒนา (SDK) อยู่ภายใต้การพัฒนาและการที่พวกเขา วางแผนที่จะนำมัน “อยู่ในมือนักพัฒนา ‘ในเดือนกุมภาพันธ์” ที่ 6 มีนาคม 2008, แอปเปิ้ลปล่อยออกมาก่อนเบต้าพร้อมกับชื่อใหม่สำหรับระบบปฏิบัติการ: “iPhone OS”
      แอปเปิ้ลได้เปิดตัว iPod touch, ซึ่งมีมากที่สุดของความสามารถที่ไม่ใช่โทรศัพท์ของ iPhone แอปเปิ้ลยังขายได้มากกว่าหนึ่งล้าน iPhones ในช่วงเทศกาลวันหยุด 2007 ที่ 27 มกราคม 2010, แอปเปิ้ลประกาศ iPad, featuring หน้าจอขนาดใหญ่กว่า iPhone และ iPod touch และได้รับการออกแบบสำหรับการท่องเว็บการบริโภคสื่อและการอ่านiBooks .
     ในเดือนมิถุนายน 2010, OS iPhone ของ Apple แบรนเป็น “iOS” เครื่องหมายการค้า “IOS” ได้ถูกใช้โดยซิสโก้มานานกว่าทศวรรษสำหรับระบบปฏิบัติการของIOSที่ใช้ในเราเตอร์ของมัน เพื่อหลีกเลี่ยงการใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นคดี, แอปเปิ้ลได้รับใบอนุญาต “IOS” เครื่องหมายการค้าจากซิสโก้

ประวัติรุ่น
  แอปเปิ้ลได้รับใบอนุญาตเครื่องหมายการค้าสำหรับ “iOS” จากซิสโก้ซิสเต็มส์ (ซึ่งเป็นเจ้าของIOS ), บริษัท เดียวกันกับที่แอปเปิ้ลได้ตัดสินข้อพิพาทก่อนหน้านี้มากกว่า “iPhone” เครื่องหมายการค้า
      Apple เปิดตัว iOS 4 เมื่อ June 21, 2010, สามวันก่อนiPhone 4 , ในความพยายามที่จะลดความเครียดในเซิร์ฟเวอร์ของ Apple
     iOS 4 คือรุ่นแรกของ OS ที่จะอัพเกรดฟรีใน iPod touch; แอปเปิ้ลได้ค่าบริการ 4.99 $ สำหรับการอัพเกรดก่อนหน้านี้ แอปเปิ้ลก่อนหน้านี้ประกาศว่าผู้ใช้ iPad กับซอฟต์แวร์ 3.x จะได้รับการอัพเกรดฟรีเพื่อไปปล่อย (4.x) ที่สำคัญ
    iOS 4.0.1 รวมการแก้ไขเพื่อให้การรับสัญญาณบ่งชี้ที่มีความแข็งแรง (s) มันถูกปล่อยออกที่กรกฎาคม 15, 2010, แอปเปิ้ลวันก่อนที่จะเป็นเจ้าภาพจัดงานแถลงข่าวเพื่อหารือเกี่ยวกับการตอบสนองในการเผยแพร่อย่างกว้างขวางปัญหาเสาอากาศ iPhone แอปเปิ้ลยังปล่อย iOS 3.2.1 สำหรับiPadซึ่งเอ็นดูแท็บเล็ตของ Wi-Fi เชื่อมต่อการเล่นวิดีโอและสำเนาและวางสำหรับสิ่งที่แนบไฟล์ PDF ท่ามกลางการปรับปรุงอื่น ๆ
     iOS 4.1 สำหรับiPhoneและ iPod touch ได้รับการปล่อยตัวเมื่อ 8 กันยายน 2010; การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องบางอย่างที่รายงานโดยผู้ใช้งานแบตเตอรี่ที่ดีขึ้นและเพิ่มคุณสมบัติใหม่หลายประการ:
ศูนย์เกมซึ่งช่วยให้นักเล่นเกมที่จะเล่นหลายเกมออนไลน์, อัปโหลดคะแนนสูงและความสำเร็จปลดล็อค (แต่แอปเปิ้ลออกมาจากศูนย์เกม3G iPhoneเพราะจากรายงานผลการดำเนินงานช้า)
ความสามารถในการสลับการตรวจการสะกดและปิด
การถ่ายภาพ HDR (4 iPhone และ 4S เท่านั้น)
ปิงซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมดนตรีและการค้นพบเครื่องมือ
      iOS 4.1 การอัปเดตการตั้งค่าของผู้ให้บริการซึ่ง (ในเวลาในประเทศสหรัฐอเมริกาว่าAT & T 8.0 เท่านั้น) ในเวลาเดียวกัน, ทีวีเช่ากลายเป็นโชว์ที่มีอยู่บนiTunes Store สหรัฐ .
      iOS 4.2 ก็ไม่เคยปล่อยออกมา แต่แทนที่จะ iOS 4.2.1 ได้รับการปล่อยตัวเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2010 มันเข้ากันได้เพิ่ม iPad นอกจากนี้บน iOS 4.2.5 ได้เปิดตัวเป็นรุ่นสาธิตสำหรับCDMAรุ่นของiPhone 4 . นี้ iPhone 4 ตัวแปรได้รับการปล่อยตัวสำหรับVerizon Wirelessลูกค้าในสหรัฐอเมริกาเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2011 แต่ก่อนการสั่งซื้อพร้อมใช้งานสำหรับลูกค้าที่มีคุณภาพ Verizon Wireless 3 กุมภาพันธ์ รุ่นออกมาพร้อมกับโทรศัพท์, 4.2.6, มีการเปลี่ยนแปลง UI บางเล็กน้อยเฉพาะสำหรับรุ่นของโทรศัพท์ CDMA ได้แก่ “จุดที่มีสัญญาณส่วนบุคคล” สวิทช์ในการตั้งค่า app บริการซึ่งจะต้องมีการเปิดใช้งานโดยผู้ให้บริการเพื่อให้ คุณลักษณะที่จะใช้งาน นี้กลายเป็นที่ใช้ได้สำหรับการซื้อจาก Verizon เป็นแผนแยกกันตามที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเป็นไปได้ในมาร์ทโฟนอื่น ๆ
      iOS 4.3 ถูกปล่อยออกมาให้ประชาชนวันที่ 9 มีนาคม, 2011, สองวันก่อน2 iPadที่มีอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากคุณสมบัติก่อนหน้านี้ปล่อยสาธารณะของ iOS 4.3 รวมคุณสมบัติใหม่ ๆ เช่น Nitro JavaScript เครื่องยนต์ในSafariทำให้ Safari ทำงานได้ถึงสองครั้งที่รวดเร็วเป็นไปตามแอปเปิ้ล Sharing แรก iTunes ยังได้รับการแก้ไขที่สำคัญใน iOS 4.3; มันช่วยให้ผู้ใช้เชื่อมต่อไปยังบ้านของพวกเขาWi-Fiเครือข่ายและสตรีมเนื้อหาจากอุปกรณ์ iOS กับลำโพงทีวีและอุปกรณ์อื่น ๆ หรือในทางกลับกันจุดที่มีสัญญาณส่วนบุคคลสำหรับ iPhone 4 มีคุณลักษณะใหม่ที่เป็น iPhone GSM (ออกก่อนหน้านี้ กับ iPhone Verizon CDMA) ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสร้างบริการ Wi-Fiเครือข่ายกับ iPhone 4 และจัดให้มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ถึงห้าอุปกรณ์อื่น ๆ ในVerizon Wireless , สามเมื่อAT & T นอกจากนี้ด้านข้าง ปุ่มบน iPad ขณะนี้ปรับแต่งได้ที่มีผู้ใช้สามารถที่จะใช้อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเสียงระบบปิดหรือเป็นล็อคการหมุนหน้าจอ iOS 4.3 ไม่ได้ถูกปล่อยออกมาสำหรับ iPhones CDMA ซึ่งอยู่บน 4.2.x รุ่นจนกว่าพวกเขาจะได้ปรับปรุง เพื่อ iOS 5 กับส่วนที่เหลือของสาย iOS เมื่อ 12 ตุลาคม 2011
     iOS 5.0 และคุณลักษณะของมันถูกประกาศเมื่อวันที่ 6 มิถุนายนที่อยู่ WWDC ปราศรัย 2011 การปรับปรุงที่ได้รับการปล่อยตัว 18:00 GMTเมื่อ 12 ตุลาคม 2011 iOS 5 นำiCloudบริการและศูนย์การแจ้งเตือนเช่นเดียวกับการปรับปรุงการปพลิเคชันพื้นเมืองเช่นกล้อง ระบบปฏิบัติการยังมีการใช้งานใหม่เช่น “เตือน” app และ “ที่แผงหนังสือ” บ้านโฟลเดอร์พิเศษของหน้าจอและหมวดหมู่ที่ App Store ที่มีปพลิเคชันหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ” iMessage”เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้ iPod touch, iPhone และ iPad ในการสื่อสารมากเช่นบริการแชทที่ใช้เฉพาะระหว่างอุปกรณ์เหล่านี้ คุณลักษณะ iMessage ได้รับการผนวกเข้ากับ “ข้อความ” แอพลิเคชันบน iPhone การประยุกต์ใช้ iPod บน iPhone และ iPad ได้รับตอนนี้แยกออกเป็นดนตรีและการประยุกต์ใช้วิดีโอเช่นเดียวกับที่มันได้เคยใน iPod touch เกี่ยวกับiPhone 4Sเสมือนผู้ช่วยที่ชื่อสิริถูกบันทึก สิริช่วยให้ผู้ใช้เพื่อพูดคุยกับ iPhone ของพวกเขา 4S และดำเนินการต่างๆให้ส่งข้อความให้สร้างการแจ้งเตือนและทำการค้นหาทางอินเทอร์เน็ต ระบบปฏิบัติการใหม่นี้ยังมีการรวม Twitter อุปกรณ์ทั้งหมดในขณะนี้สามารถติดตั้งโดยไม่ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะหรือแล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ เกือบทุกระบบปพลิเคชันที่ถูกปรับปรุงด้วยคุณสมบัติใหม่หรืออินเตอร์เฟซที่ออกแบบใหม่ นอกจากนี้ยังเพิ่มการรักษาความปลอดภัยที่ปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาด ตามที่แอปเปิ้ล, OS ใหม่มีมากกว่า 200 คุณสมบัติใหม่
     iOS 5.0.1 ได้รับการปล่อยตัวในพฤศจิกายน 2011 การปรับปรุงนี้รวมแล้วจำนวนของการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆและปรับปรุงความปลอดภัยการปรับปรุงยังแก้ปัญหาแบตเตอรี่กับอุปกรณ์ใหม่และข้อผิดพลาดกับiCloudบริการและ รวมมีการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ อื่น ๆ และบางวิธีการใหม่สำหรับนักพัฒนา
     iOS 5.1 มีการประกาศไปพร้อมกับiPadและApple TV (รุ่น 3) ในช่วงเหตุการณ์กดพิเศษที่ Yerba Buena ศูนย์ศิลปะในซานฟรานซิสโกเมื่อ 7 มีนาคม 2012 ไม่มากจากเหตุการณ์ที่ได้ทุ่มเทเพื่อซอฟแวร์ใหม่ ปล่อยและจะถูกมองโดยทั่วไปเป็นรุ่นที่เพิ่มขึ้นน้อยที่สุดต่อมาในวันนั้นผู้ใช้ iOS อุปกรณ์ก็สามารถที่จะอัพเกรดระบบปฏิบัติการใหม่คุณสมบัติใหม่รวมถึงการสนับสนุนสิริในภาษาญี่ปุ่นเช่นเดียวกับ ความสามารถในการลบภาพถ่ายจากภาพ Streamเมื่ออุปกรณ์ iOS  iPad ยังได้รับแอพพลิเคกล้องที่ออกแบบใหม่แบบ over-the-air จำกัด การดาวน์โหลด 3G จาก App Store เพิ่มขึ้นจาก 20 MB ถึง 50 MB
     iOS 5.1.1 ได้เปิดตัวในฤดูใบไม้ผลิของ 2012การปรับปรุงนี้รวมจำนวนของการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆและปรับปรุงความปลอดภัยมันเป็นรุ่นสุดท้ายที่จะสนับสนุนการเดิมiPadและรุ่นที่ 3 iPod Touch ของ .
     iOS 6 ได้ประกาศเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 ณ ของ Apple WWDC เหตุการณ์ปราศรัย 2012 มีอยู่มากกว่า 200 คุณสมบัติใหม่ใน iOS 6 ได้แก่ :
  • หน้าซอฟท์แวทำแผนที่แอปเปิ้ลใหม่ ( TomTomมากกว่าGoogle Maps ) เปิดโดยเปิดนำร่องการจราจรและสะพานลอย
  • สิริสนับสนุนiPad Generation, 3 กีฬาภาพยนตร์และร้านอาหาร
  • ของ Facebookบูรณาการ (คล้ายกับTwitterบูรณาการใน iOS 5) โพสต์โดยตรงไปยังFacebook , รายชื่อ, ปฏิทิน Apps และชอบและเพลง
  • ที่ใช้ร่วมกันภาพ Stream
  • สมุดบัญชีเงินฝาก
  • FaceTimeมากกว่าโทรศัพท์มือถือ
  • สิ่งอำนวยความสะดวก App โทรศัพท์ใหม่
  • การเปลี่ยนแปลงใน App จดหมาย
  • iCloud แท็บใน Safari
  • สิ่งอำนวยความสะดวก Accessablity ใหม่
  • ร้านค้า Remodeled (iTunes, App Store และ iBooks)
  • คุณลักษณะใหม่สำหรับประเทศจีน
  • อินเตอร์เฟซใหม่นี้เป็นเพราะจะเปิดตัวในฤดูใบไม้ร่วงของ 2012
คุณสมบัติ
  หน้าจอหลัก

(แสดงโดยและรู้จักกันว่า “ สปริง ”) จะแสดงการประยุกต์ใช้ไอคอนและท่าเรือที่ด้านล่างของหน้าจอที่ผู้ใช้สามารถ pin ปพลิเคชันที่ใช้บ่อยที่สุดของพวกเขา หน้าจอหลักจะปรากฏเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้สวิทช์บนอุปกรณ์หรือกดปุ่ม “Home” (ปุ่มที่มีอยู่จริงบนอุปกรณ์) หน้าจอมีแถบสถานะด้านบนเพื่อแสดงข้อมูลเช่นเวลา, ระดับแบตเตอรี่และความแรงของสัญญาณ ส่วนที่เหลือของหน้าจอเพื่อรองรับการประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน เมื่อรหัสผ่านที่ถูกกำหนดและผู้ใช้ในอุปกรณ์สวิทช์, ล็อคหน้าจอจะปรากฏขึ้น

      แถบสถานะ iPhone 4S แสดงไอคอนของมัน จากซ้ายไปขวา: ความแรงของสัญญาณ , ผู้ให้บริการไร้สายชื่อ, Wi-FiความแรงของสัญญาณVPNการเชื่อมต่อที่เวลาล็อคปฐมนิเทศบริการสถานที่, นาฬิกาปลุก,
TTYสถานะสะท้อน AirPlay และแบตเตอรี่ (ยังไม่ภาพ: โหมดเครื่องบิน , โอนสาย , ล็อคอุปกรณ์ฮอตสปอตส่วนบุคคล , เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่โหมดเสียงพื้นหลัง, บลูทูธ , WiFi ซิงค์ตัวบ่งชี้กิจกรรมของเครือข่ายและร้อยละแบตเตอรี่)
ตั้งแต่ iOS เวอร์ชัน 3.0, ฟังก์ชั่นการค้นหา Spotlight ได้รับการให้บริการบนหน้าซ้ายสุดของหน้าจอหลักที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาผ่านสื่อการประยุกต์ใช้อีเมลติดต่อและไฟล์ที่คล้ายกัน
  โฟลเดอร์

    ด้วย iOS 4 การแนะนำของระบบโฟลเดอร์ที่เรียบง่ายมา เมื่อใช้งานอยู่ในโหมด “กระตุก” ใด ๆ สองสามารถลากด้านบนของแต่ละอื่น ๆ เพื่อสร้างโฟลเดอร์และจากนั้นมาปพลิเคชันเพิ่มเติมสามารถเพิ่มลงในโฟลเดอร์โดยใช้ขั้นตอนเดียวกันได้ถึง 12 บน iPhone และ iPod touch และ 20 ใน iPad ชื่อสำหรับโฟลเดอร์ที่ถูกเลือกโดยอัตโนมัติตามประเภทของการใช้งานภายใน แต่ชื่อยังสามารถแก้ไขได้โดยผู้ใช้
  การแจ้งเตือน

  ใน iOS 5 ปรับปรุงคุณลักษณะการแจ้งเตือนที่ถูกออกแบบใหม่อย่างสมบูรณ์ การแจ้งเตือนในขณะนี้ตรวจทานในหน้าต่างซึ่งสามารถลากลงมาจากด้านบนของหน้าจอหากผู้ใช้สัมผัสที่ได้รับการแจ้งเตือนเขา / เธอจะไปที่โปรแกรมประยุกต์ที่ส่งการแจ้งเตือน
  การใช้งานรวมแล้ว

   หน้าจอหลักที่มี iOS เหล่านี้ “ปพลิเคชัน” เริ่มต้น บางส่วนของโปรแกรมเหล่านี้จะถูกซ่อนไว้ตามค่าเริ่มต้นและเข้าถึงได้โดยผู้ใช้ผ่านการตั้งค่า app หรือวิธีอื่นสำหรับอินสแตนซ์, Nike + iPodสามารถใช้งานได้ผ่านการตั้งค่า app
สัมผัส iPod ยังคงมีการใช้งานเดียวกันที่มีอยู่ตามค่าเริ่มต้นบน iPhone ด้วยข้อยกเว้นของปพลิเคชันโทรศัพท์, ข้อความเข็มทิศและกล้องถ่ายรูป (ก่อนรุ่นที่ 4) ”iPod” App ก่อนหน้านี้มีอยู่บน iPhone ได้แยกออกเป็นสองปพลิเคชันที่มี iOS 5, ฟังเพลงและถ่ายเป็นมันมักจะได้รับใน iPod touch แถวล่างของโปรแกรมจะใช้ในการวาดภาพวัตถุประสงค์หลักใน iPod touch ของ: เพลง, วิดีโอ, Safari และ App Store (เค้าโครง Dock ถูกเปลี่ยนแปลงในการปรับปรุง 3.1) สำหรับการสร้าง iPod Touch 4 จะมี FaceTime และกล้องและเค้าโครงท่าเรือได้เปลี่ยนไปฟังเพลง, Mail, Safari วิดีโอ, ในฐานะของ iOS 5.0 “iMessage” จะใช้ได้บนทุกอุปกรณ์ iOS ทำงาน iOS 5 iMessage เป็นอย่างมีประสิทธิภาพรุ่นของ app ข้อความ iPhone ที่จะส่งข้อความฟรีหรือข้อความมัลติมีเดียไปยังอุปกรณ์อื่น ๆ iOS (คล้ายกับBlackBerry Messenger )
iPad มาพร้อมกับการใช้งานเช่นเดียวกับไอพอดทัชไม่รวมหุ้น, อากาศ, นาฬิกาเครื่องคิดเลข, และ Nike + iPod app ปพลิเคชันเพลงและวิดีโอมีให้แยกเป็นใน iPod touch แม้จะ (เช่นบน iPhone) app เพลงที่ชื่อ “iPod” ถึงแม้ว่าที่ถูกเปลี่ยนแปลงใน iOS 5 ถึง “เพลง”, เพื่อให้ตรงกับอุปกรณ์อื่น ๆ ในครอบครัว มากที่สุดของการใช้งานเริ่มต้นจะถูกเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อใช้ประโยชน์จากจอแสดงผลขนาดใหญ่ของ iPad เค้าโครงเริ่มต้นที่ท่าเรือรวมถึง Safari, Mail ภาพถ่ายและเพลง
    พร้อมการใช้งาน

     ก่อนที่ iOS 4, มัลติทาสกิ้งถูก จำกัด ให้เลือกการใช้งานแอปเปิ้ลรวมอยู่ในอุปกรณ์และอาเรย์ของการปรับเปลี่ยน jailbroken เริ่มต้นด้วย iOS 4 บน 3 รุ่นที่ใหม่กว่าและอุปกรณ์ iOS, มัลติทาสกิ้งได้รับการสนับสนุนผ่านพื้นหลังเจ็ดAPIs :
  1. เสียงพื้นหลัง – แอพลิเคชันยังคงทำงานในพื้นหลังตราบเท่าที่มันจะเล่นเสียงหรือเนื้อหาวิดีโอ
  2. Voice over IP – แอพลิเคชันจะถูกระงับเมื่อมีสายโทรศัพท์ไม่ได้อยู่ในความคืบหน้า
  3. สถานที่ตั้งของพื้นหลัง – แอพลิเคชันจะได้รับแจ้งการเปลี่ยนแปลงสถานที่
  4. กดแจ้งที่
  5. การแจ้งท้องถิ่น – ตารางเวลาการประยุกต์ใช้การแจ้งเตือนในพื้นที่ที่จะส่งมอบในเวลาที่กำหนดไว้
  6. เสร็จงาน – โปรแกรมจะถามระบบสำหรับเวลาพิเศษเพื่อให้เป็นงานที่ได้รับ
  7. สลับ app รวดเร็ว – โปรแกรมไม่รันโค้ดใด ๆ และอาจถูกลบออกจากหน่วยความจำในเวลาใด ๆ 
    การใช้งานที่สวิตชิ่ง

      ดับเบิลคลิกที่ปุ่มที่บ้านเปิดใช้งานแอพลิเคชันสลับ อินเตอร์เฟซที่ท่าเรือเหมือนเลื่อนจะปรากฏขึ้นจากด้านล่างย้ายเนื้อหาของหน้าจอขึ้น เลือกไอคอนสวิทช์ไปยังโปรแกรมประยุกต์ ไปทางซ้ายจะเป็นไอคอนที่ทำงานเป็นตัวควบคุมเพลง, ล็อคการหมุนและบน iOS 4.2 ขึ้นไปควบคุมปริมาณ โฮลดิ้งไอคอนสั้น ๆ ที่ทำให้พวกเขา “กระตุก” (คล้ายกับหน้าจอ) และช่วยให้ผู้ใช้สามารถบังคับให้ออกจากโปรแกรมประยุกต์โดยใช้เพียงแตะที่วงกลมสีแดงลบที่ปรากฏอยู่ที่มุมของ icon app ของ
การใช้งานที่สวิตชิ่ง


      เกมCenter
    
      เกมศูนย์เป็นออนไลน์ หลาย ”เครือข่ายการเล่นเกมทางสังคม” ที่ออกโดยแอปเปิ้ลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ “เชิญเพื่อนที่จะเล่นเกมเริ่มเกมหลายคู่ที่ผ่านการติดตามความสำเร็จของพวกเขาและเปรียบเทียบคะแนนสูงของพวกเขาเกี่ยวกับ คณะผู้นำ. “ iOS 5 และเหนือเพิ่มการสนับสนุนสำหรับรายละเอียดภาพถ่ายศูนย์เกมได้มีการประกาศในช่วงเหตุการณ์ iOS ตัวอย่างที่ 4 จัดโดยแอปเปิ้ลเมื่อ 8 เมษายน 2010 ตัวอย่างที่ถูกปล่อยออกไปให้นักพัฒนาแอปเปิ้ลที่ลงทะเบียนในเดือนสิงหาคมมันถูกปล่อยออกเมื่อ 8 กันยายน 2010 ด้วย iOS 4.1 บน iPhone 4, 3GS iPhone และ iPod touch รุ่นที่ 2 รุ่นที่ผ่าน 4ศูนย์เกมที่ทำต่อสาธารณชนครั้งแรกใน iPad กับ iOS 4.2.1 มีการสนับสนุนสำหรับการไม่มี3G iPhoneและiPhone เดิม . อย่างไรก็ตามศูนย์เกมเป็นทางการที่มีอยู่ใน iPhone 3G ผ่านสับ


      การพัฒนา

      SDKการใช้งานจะต้องเขียนและเรียบเรียงโดยเฉพาะสำหรับ iOS และสถาปัตยกรรม ARM ซาฟารี เว็บเบราเซอร์ที่สนับสนุนโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์เช่นเดียวกับเว็บอื่น ๆ ผู้มีอำนาจของบุคคลที่สามแอพพลิเคชันที่ใช้ได้สำหรับอุปกรณ์ที่ใช้ iOS 2.0 และภายหลังผ่านแอปเปิ้ลที่ App Store .
iOS SDK
                                          iOS SDK รวมอยู่ใน Xcode 3.1

        ที่ 17 ตุลาคม 2007 ในจดหมายเปิดผนึกที่โพสต์ไปยังแอปเปิ้ล “ข่าวร้อน” เว็บล็อก, สตีฟงานประกาศว่าชุดพัฒนาซอฟต์แวร์ (SDK) จะให้บริการแก่บุคคลที่สามพัฒนาในเดือนกุมภาพันธ์ 2008  SDK ได้รับการปล่อยตัว วันที่ 6 มีนาคม, 2008, และช่วยให้นักพัฒนาที่จะทำให้โปรแกรมสำหรับ iPhone และ iPod touch รวมทั้งทดสอบพวกเขาใน “จำลอง iPhone” อย่างไรก็ตามการโหลดแอพลิเคชันบนอุปกรณ์เป็นไปได้เฉพาะหลังจากจ่ายค่าสำหรับนักพัฒนาโปรแกรม iPhone
      ค่าธรรมเนียมในการเข้าร่วมโปรแกรมตามลำดับสำหรับ iOS และ OS X ถูกระบุไว้ที่ $ 99.00 ต่อใบอนุญาตให้นักพัฒนา นี้ค่าธรรมเนียม $ 99.00 จะต้องชำระเป็นประจำทุกปีเพื่อให้นักพัฒนาที่จะรักษาสิทธิ์ของพวกเขา ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2010, แอปเปิ้ลเปิดตัว Xcode บน Mac ร้านค้าของ App ฟรีดาวน์โหลดสำหรับทุก OS X Lion ผู้ใช้ ผู้ใช้สามารถสร้างและพัฒนาแอพพลิเค iOS ใช้สำเนาฟรี Xcode แต่พวกเขาไม่สามารถโพสต์ให้ร้าน App หรือทำกำไรจากการใช้งานได้โดยไม่ต้องจ่ายเงินก่อนสำหรับนักพัฒนา iPhone $ 99.00 หรือ Mac ค่าธรรมเนียมหลักสูตรนักพัฒนา
ตั้งแต่การเปิดตัวของXcode 3.1 , Xcode เป็นสภาพแวดล้อมการพัฒนาสำหรับ iOS SDK การใช้งาน iPhone เช่น iOS และ OS X, เขียนในวัตถุประสงค์-C .
นักพัฒนาสามารถที่จะกำหนดราคาใด ๆ ข้างต้นขั้นต่ำที่กำหนดไว้สำหรับการใช้งานของพวกเขาที่จะกระจายผ่านทางApp Store ที่ซึ่งแอปเปิ้ลจะใช้เวลา 30% ของรายได้ (อื่น ๆ 70% ไปที่นักพัฒนา) อีกวิธีหนึ่งที่พวกเขาอาจเลือกที่จะปล่อยโปรแกรมฟรีและไม่จำเป็นต้องจ่ายค่าใช้จ่ายใด ๆ ที่จะปล่อยหรือแจกจ่ายใบสมัครยกเว้นค่าสมาชิก

   Jailbreaking

        นับตั้งแต่รุ่นแรกของ iOS ได้รับภายใต้ความหลากหลายของ hacks ที่แตกต่างกันศูนย์กลางรอบเพิ่มฟังก์ชันการทำงานโดยไม่ได้รับอนุญาตแอปเปิ้ลก่อนที่จะเปิดตัวครั้งแรกของ 2008 พื้นเมืองiOS App Store , แรงจูงใจหลักสำหรับ jailbreaking คือการติดตั้งแอพพลิเคชันของบุคคลที่สามซึ่งไม่ได้รับอนุญาตจากแอปเปิ้ลในเวลาแอปเปิ้ลอ้างว่ามันจะไม่ปล่อยอัพเดตซอฟแวร์ iOS ที่ออกแบบมา โดยเฉพาะที่จะทำลายเครื่องมือเหล่านี้ (ที่นอกเหนือจากการใช้งานที่ดำเนินการปลดล็อคซิม ) แต่กับแต่ละที่ตามมา iOS ปรับปรุงก่อนหน้านี้ un-patched หาประโยชน์ jailbreak มี patched ปกติ
นับตั้งแต่การมาถึงของแอปเปิ้ลของพื้นเมืองที่เก็บ iOS App และพร้อมกับการประยุกต์ใช้ IT-บุคคลที่สามแรงจูงใจทั่วไปของ jailbreaking มีการเปลี่ยนแปลงคนแหกคุกด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันจำนวนมากรวมทั้งแอพพลิเคละเมิดลิขสิทธิ์ App Store, เข้าถึงระบบแฟ้ม, การติดตั้งธีมอุปกรณ์ที่กำหนดเองและปรับเปลี่ยนอุปกรณ์สปริง .ในอุปกรณ์บาง jailbreaking ยังทำให้มันเป็นไปได้ที่จะติดตั้งระบบปฏิบัติการทางเลือกเช่น Android และเคอร์เนล
ในปี 2010 มูลนิธิพรมแดนอิเล็กทรอนิกส์ (EFF) ประสบความสำเร็จเชื่อว่าสำนักงานลิขสิทธิ์ของสหรัฐที่จะปฏิเสธข้อเรียกร้องของ Apple ว่า jailbreaking มีการละเมิดDigital Millennium Copyright Act (DMCA) และประกาศว่า jailbreaking iOS เป็นกฎหมายในสหรัฐอเมริกา

    การจัดการสิทธิแบบดิจิตอล

           ลักษณะปิดและกรรมสิทธิ์ของ IOS ได้รวบรวมการวิจารณ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิดิจิตอลสนับสนุนเช่นมูลนิธิพรมแดนอิเล็กทรอนิวิศวกรคอมพิวเตอร์และกิจกรรมBrewster Kahle , Internet กฎหมายผู้เชี่ยวชาญโจนาธาน Zittrainและมูลนิธิซอฟต์แวร์ฟรีที่ประท้วงเหตุการณ์เบื้องต้นของ iPad และมี ที่กำหนดเป้าหมาย iPad ด้วย “ความบกพร่องจากการผลิตโดยได้รับการออกแบบแคมเปญ “ คู่แข่งไมโครซอฟท์ผ่านทางโฆษกของ PR, การวิพากษ์วิจารณ์การควบคุมของ Apple มากกว่าแพลตฟอร์มของ
ที่ปัญหาข้อ จำกัด ที่กำหนดโดยการออกแบบของ iOS มีคือDigital Rights Management (DRM) วัตถุประสงค์เพื่อล็อคสื่อที่ซื้อไปยังแพลตฟอร์มแอปเปิ้ล, รูปแบบการพัฒนา (ต้องสมัครสมาชิกรายปีที่จะแจกจ่ายปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้นสำหรับ iOS), ขั้นตอนการอนุมัติจากส่วนกลางสำหรับแอพพลิเค เช่นเดียวกับแอปเปิ้ลการควบคุมทั่วไปและ จำกัด ขอบเขตของแพลตฟอร์มตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปัญหาความสามารถในการแอปเปิ้ลจากระยะไกลปิดหรือลบปพลิเคชันที่จะเป็น
บางคนในชุมชนมีเทคโนโลยีได้แสดงความกังวลว่าล็อคลง iOS แสดงถึงแนวโน้มการเติบโตในแนวทางของ Apple กับคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแอปเปิ้ลออกไปจากเครื่องที่ hobbyists สามารถ “คนจรจัดด้วย” และทราบที่อาจเกิดขึ้นสำหรับข้อ จำกัด ดังกล่าวเพื่อยับยั้งนวัตกรรมซอฟแวร์อย่างไรก็ตามมีบางด้านนอกของ Apple ที่ได้เปล่งออกมาสนับสนุนสำหรับ iOS ปิดแบบเป็น Facebook พัฒนาโจเฮวิตต์ผู้ได้ประท้วงก่อนหน้านี้กับการควบคุมแอปเปิ้ลมากกว่าฮาร์ดแวร์ของมันเป็น “แบบอย่างที่น่ากลัว” ได้ที่ถกเถียงกันต่อมาปพลิเคชันที่ถูกล็อกใน iPad จะคล้ายกับการใช้งานเว็บและให้การรักษาความปลอดภัยเข้ามา




วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

สรุปผลการเรียนวันที่ 11 กันยายน 2556

การจัดการหน่วยความจำหลักแบบดีมานด์เพจ (Demanded Paged Memory Management)
การพัฒนาการจัดการหน่วยความจำหลักแบบดีมานด์เพจ ที่กำหนดให้เรียกเฉพาะเพจที่ต้องการใช้งานเท่านั้นเข้ามาบรรจุในหน่วยความจำหลัก โดยนำเอาการสับเปลี่ยนเพจ (Page Swapping) เข้ามาช่วยในการทำงาน จะเห็นได้ว่าเป็นการสับเปลี่ยนเฉพาะเพจที่ต้องการใช้เข้ามาไว้ในหน่วยความจำหลัก กล่าวคือ เป็นการสับเปลี่ยนเท่าที่จำเป็นเท่านั้น
อัลกอริธึมการแทนที่เพจ (Page Replacement Algorithm)
เพื่อเรียกเพจที่ต้องการใช้แต่ไม่อยู่ในหน่วยความจำหลัก ให้เข้าไปอยู่ในหน่วยความจำหลัก ในกรณีที่หน่วยความจำหลักไม่มีที่ว่าง ระบบปฏิบัติการจำเป็นต้องพิจารณาเลือกเอาบางเพจออกจากหน่วยความจำหลัก เพื่อให้ได้เฟรมว่าง (free frame)
อัลกอริธึม First In First Out (FIFO)
เป็นอัลกอริทึมที่ง่ายที่สุดในการแทนที่เพจ การทำงานของอัลกอริธึมสามารถแสดงให้เห็นชัดเจนด้วยการทำเพจเทรซ (page trace) ซึ่งแสดงให้เห็นในเพจที่บรรจุหน่วยความจำหลัก เมื่อระบบเรียกใช้เพจต่างๆ โดยกำหนดให้
P คือ เพจที่ถูกเรียกใช้ในการประมวลผล
M คือ จำนวนเฟรมของหน่วยความจำหลัก
F คือ จำนวนช่วงเวลาที่เกิดเพจฟอลท์ แสดงโดยใช้เครื่องหมาย +
อัลกอริธึม Least Recently Used (LRU)
ระบบนี้จะเลือกเพจที่อยู่ในหน่วยความจำหลัก ที่ไม่ได้ถูกเรียกใช้นานที่สุดออกไปจากหน่วยความจำหลักอย่างไรก็ตาม เราพบว่าอัลกอริธึมนี้มีปัญหาในเรื่องการประยุกต์เพื่อให้ได้มาซึ่งระบบที่ใช้การแทนที่เพจแบบ LRU ซึ่งอาจจำเป็นต้องมีฮาร์ดแวร์เข้ามาช่วยในการบันทึกเวลาที่มีการอ้างอิงแต่ละเพจครั้งล่าสุด เช่น การใช้ตัวนับ (Counter) และสแตก (Stack)
- ตัวนับ (Counter)
เวลาการใช้งาน (time-of-use) จะเลือกเพจที่มีค่าการใช้งานน้อยที่สุด (ไม่ได้ถูกใช้นานที่สุด)
- สแตก (Stack)
ถ้าเป็นหมายเลขที่อยู่ในสแตก จะนำหมายเลขนั้นไปไว้ที่ส่วนบนสุดของสแตก (top of stack) ดังนั้นเพจที่อยู่ตำแหน่งบนสุดของสแตกจะเป็นเพจที่ถูกเรียกใช้มากที่สุด
อัลกอริธึม LRU Approximation
พิจารณาจากค่าของบิตอ้างอิงของเพจนั้นๆ ถ้าบิตอ้างอิงของเพจมีค่าเป็น 0 แสดงว่า เพจนั้นไม่เคยถูกเรียกใช้งานเลย แต่ถ้าบิตอ้างอิงของเพจมีค่ามากกว่า 0 แสดงว่าเพจนั้นได้ถูกเรียกใช้งาน
อัลกอริธึมการจัดสรรเฟรม (Frame Allocation Algorithm)
อัลกอริธึมการจัดสรรเฟรม ได้แก่
การจัดสรรจำนวนเท่ากัน (Equal Allocation)
การจัดสรรจำนวนเป็นสัดส่วน (Proportional Allocation)
การจัดสรรตามลำดับความสำคัญ (Priority Allocation)
 ระบบรับเข้า/ส่งออก (Input/Output System)
ฮาร์ดแวร์ของการรับเข้า/ส่งออก (Input/Output Hardware)
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล เช่น ดิสก์, เทป
อุปกรณ์ช่วยในการส่งผ่านข้อมูล เช่น networks carde, โมเด็ม
อุปกรณ์ช่วยในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ, แป้นพิมพ์, เมาส์
วิธีติดต่อระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์มีดังนี้
การแมพหน่วยความจำ (Memory-Mapped I/O : MMIO)
รีจิสเตอร์ที่สำคัญ คือ รีจิสเตอร์สถานะ และรีจิสเตอร์คำสั่ง
รีจิสเตอร์สถานะ ทำหน้าที่ควบคุมสถานะของอุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก  รีจิสเตอร์สถานะมีค่าเป็น 1 เมื่ออุปกรณ์ไม่ว่าง และให้มีค่าเป็น 0 เมื่ออุปกรณ์ว่าง
รีจิสเตอร์คำสั่ง คำสั่งมีค่าเป็น 1 เมื่อมีคำสั่งให้อุปกรณ์ทำงาน และให้มีค่าเป็น 0 เมื่ออุปกรณ์ทำงานเสร็จเรียบร้อย
การแมพหน่วยความจำ วิธีนี้กำหนดให้ส่งหรือแมพ (map) รีจิสเตอร์ทุกตัวของตัวควบคุมอุปกรณ์ และบัฟเฟอร์ของอุปกรณ์ไปไว้ที่พื้นที่ของหน่วยความจำหลัก
การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง (Direct Memory Access : DMA)
ต้องมีตัวควบคุม  DMA (DMA controller) ซึ่งเป็นฮาร์ดแวร์ที่ประกอบด้วยรีจิสเตอร์จำนวนมาก
การขัดจังหวะ (Interrupts)
ซีพียูต้องมีสายสัญญาณขัดจังหวะ และชุดคำสั่งจัดการเรื่องขัดจังหวะ ในการทำงานนั้น
ซอฟต์แวร์ของการรับเข้า/ส่งออก (Input Output Software)
สามารถติดต่อกับฮาร์ดแวร์ได้โดยตรง
ความเป็นอิสระของอุปกรณ์
สามารถจัดการกับข้อผิดพลาดต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
การรับเข้า/ส่งออกด้วยโปรแกรม (Programmed I/O)
เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการจัดการรับเข้า/ส่งออกข้อมูล แต่ซีพียูต้องเสียเวลาทั้งหมดในการควบคุมการทำงาน ด้วยการตรวจสอบสถานะของเครื่องพิมพ์ ถ่ายโอนข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ และรอให้เครื่องพิมพ์ทำงานเสร็จ วิธีนี้จึงเป็นการใช้งานซีพียูอย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ
การรับเข้า/ส่งออกด้วยการขัดจังหวะ (Interrupt Driven I/O)
จากข้อเสียของการรับเข้า/ส่งออกด้วยโปรแกรม ซึ่งซีพียูจะต้องเสียเวลารอให้อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออกทำงานจนเสร็จ จึงได้นำการขัดจังหวะเข้ามาช่วยในการควบคุมการรับเข้า/ส่งออก
การรับเข้า/ส่งออกด้วยการเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง (I/O using DMA)
มีการควบคุมการรับเข้า/ส่งออกข้อมูลโดยใช้ตัวควบคุม DMA ที่ทำให้ระบบสามารถเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง ขณะที่ซีพียูสามารถสลับไปทำงานอื่นได้ ไม่จำเป็นต้องเสียเวลารอการทำงานของอุปกรณ์ หรือรอการถ่ายโอนข้อมูลตลอดจนซีพียูไม่ต้องเสียเวลาในการขัดจังหวะ
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล (Storage Devices)
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล เช่น ดิสก์, เทป, ซีดีรอม ฯลฯ อุปกรณ์เหล่านี้ถูกใช้เป็นหน่วยความจำสำรองสำหรับบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่ที่ยังไม่ต้องการประมวลผล
โครงสร้างของดิสก์ (Disk Structure)
การจัดเนื้อที่บนดิสก์แม่เหล็กได้มีการจัดแบ่งออกเป็น แทร็ก (track) และ เซคเตอร์ (sector)
ความเร็วในการทำงานของดิสก์ ขึ้นกับปัจจัยสำคัญ 2 ประการ คือ
อัตราการถ่ายโอนข้อมูล
อัตราเวลาการค้นหาตำแหน่ง
             - ระยะเวลาการค้นหา
             - ระยะเวลาที่ใช้หมุนดิสก์
การจัดรูปแบบดิสก์ (Disk Formatting)
การจัดรูปแบบระดับต่ำ
การแบ่งดิสก์
การจัดรูปแบบระดับสูง
การจัดเวลาการใช้ดิสก์ (Disk Scheduling)
การเรียกใช้งานฮาร์ดแวร์อย่างมีประสิทธิภาพ  การจัดการใช้ดิสก์ที่สำคัญมีดังนี้
การจัดการเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน (First Come First Serve Scheduling : FCFS)
การจัดการเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน (Shortest Seek Time First Scheduling : SSTF)
การจัดการเวลาแบบสแกน (Scan Scheduling : SCAN)
การจัดการเวลาแบบซี – สแกน (Circular Scan Scheduling : C-SCAN)

วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556

หน่วยความจำเสมือน

หน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory)
เป็นวิธีการที่สามารถให้กระบวนการทำงานได้แม้จะไม่ได้อยู่ในหน่วยความจำหลักทั้งตัวก็ตาม ข้อดีหลักของวิธีนี้ที่เห็นได้ชัด คือ โปรแกรมของผู้ใช้อาจมีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจำจริงก็ได้ วิธีนี้สร้างหน่วยความจำทางตรรกะให้ดูเสมือนเป็นแถวลำดับ (Array) ขนาดใหญ่ โดยแยกภาพที่ผู้ใช้มองเห็นหน่วยความจำออกจากลักษณะจริงของฮาร์ดแวร์ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้อย่างอิสระไม่ต้องกังวลถึงขนาดของหน่วยความจำอีกต่อไป การสร้างหน่วยความจำเสมือนไม่ใช่ของง่าย และอาจทำให้ประสิทธิผลของระบบลดลงได้อย่างมาก ถ้าไม่รอบคอบพอ ในบทนี้เราจะวิเคราะห์หน่วยความจำเสมือนในระบบจัดสรรหน้าตามคำร้องขอ (Demand Paging) เพื่อดูความซับซ้อนของระบบและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
การแบ่งปล้อง
เนื่องจากหน่วยความจำเสมือนนี้แยกตัวเป็นเอกเทศจากหน่วยความจำจริง ดังนั้นผู้ออกแบบจะกำหนดรูปลักษณ์ของหน่วยความจำเสมือนอย่างไรก็ได้ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน ระบบการแบ่งปล้อง (segmentation) เป็นการจัดการหน่วยความจำหลัก ซึ่งพิจารณาถึงการใช้หน่วยความจำในแง่มุมของผู้ใช้เป็นหลัก
หลักกการของการแบ่งปล้อง
โดยปกติโปรแกรมจะประกอบด้วยหลายๆ หน่วยทางตรรก (logical unit) เช่น โปรแกรมย่อยและข้อมูล ดังนั้นในระบบแบ่งปล้องนี้ เนื้อที่หน่วยความจำเสมือนจะถูกแบ่งออกเป็น ปล้อง (segment) ซึ่งสมนัยกับการแบ่งงานออกเป็นหน่วยทางตรรก โดยแต่ละปล้องจะมีขนาดใหญ่เท่ากับขนาดของหน่วยของงานหน่วยนั้นๆ ที่บรรจุอยู่ ปล้องหนึ่งๆ อาจบรรจุโปรแกรมย่อยหนึ่งของงานหรืออาจบรรจุข้อมูลชุดหนึ่งก็ได้
การอ้างอิงจุดใดๆ ในโปรแกรมหรือข้อมูล สามารถทำได้โดยอ้างถึงชื่อของปล้องที่บรรจุจุดนั้น และตำแหน่งของจุดนั้นเทียบกับจุดเริ่มต้นของปล้อง ด้วยเหตุนี้ปล้องต่างๆ ของโปรแกรมเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องอยู่เรียงต่อกันในหน่วยความจำจริง หรือหากปล้องไหนไม่ได้ใช้ก็สามารถเก็บปล้องนั้นไว้ในหน่วยความจำรองได้ เพื่อเปิดทางให้กับปล้องของงานอื่น เข้าไปใช้หน่วยความจำจริงได้
ข้อดีและข้อเสียของระบบปล้อง
ประการแรกคือ ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องทำการตัดแบ่งโปรแกรมหรือข้อมูลเพื่อทำทับซ้อนเอง เพราะการทับซ้อนในระบบแบ่งปล้องทำโดยระบบปฏิบัติการนอกเหนือจากนั้น การทับซ้อนโดยอัตโนมัตินี้ยังสามารถทำได้ระหว่างโปรแกรมอีกด้วย คือปล้องที่ต้องการจากหน่วยความจำรองของกระบวนการหนึ่งสามารถเข้ามาไล่ที่ปล้องของกระบวนการอื่นที่ไม่ได้ใช้ในขณะนั้นได้ เพราะระบบได้ทำการบันทึกแฟล็กต่างๆ ไว้แล้วว่าปล้องใดอยู่ในหน่วยความจำแบบใด ข้อดีอีกประการหนึ่งคือ การแบ่งปล้องนั้นเป็นไปตามการแบ่งทางตรรกของงาน ดังนั้นปล้องจึงถือได้ว่าเป็นหน่วยของการเชื่อมส่วนต่างๆ ของงานเข้าด้วยกันที่เรียกว่า การเชื่อมโยง (linkging) ดังนั้นการเชื่อมโยงจึงสามารถทำได้โดยง่าย โดยกำหนดโปรแกรมผล เช่น โปรแกรมย่อยสำหรับหาค่า sine ให้เป็นปล้องหนึ่ง เนื่องจากการอ้างอิงตำแหน่งใดๆ ในโปรแกรมผลนี้เป็นการอ้างอิงแบบโยกย้ายได้ทั้งหมด จึงเป็นการง่ายสำหรับโปรแกรมระบบในการเชื่อมหน่วยต่างๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน เพราะเป็นการเชื่อมโยงในหน่วยความจำเสมือน ไม่ต้องใส่ใจกับ ตำแหน่งสัมบูรณ์ในหน่วยความจำจริง เพราะการแปลงให้เป็นตำแหน่งสัมบูรณ์เป็นหน้าที่ของระบบจัดการหน่วยความจำไปแล้ว โดยเหตุที่การอ้างอิงระหว่างปล้องนั้น กระทำในรูปลักษณ์ของหน่วยความจำเสมือน ดังนั้นจึงเป็นการง่ายที่จะใช้โปรแกรมย่อยร่วมกันในระหว่างโปรแกรมต่างๆ เพราะแต่ละโปรแกรมเพียงแต่ทราบถึงปล้องที่โปรแกรมย่อยนั้นอาศัยอยู่ ซึ่งหมายถึงการบรรจุข้อมูลเกี่ยวกับปล้องของโปรแกรมย่อยลงเป็นรายการหนึ่งในตารางปล้องของโปรแกรมนั้นๆ เท่านั้น แน่นอนว่าโปรแกรมย่อยนั้นต้องเป็นโปรแกรมแบบใช้ร่วมได้ (reentrant) และระบบต้องตรวจตราและเปลี่ยนแปลงทุกตารางปล้องที่อ้างอิงโปรแกรมร่วมนี้ เมื่อมีการโยกย้ายโปรแกรมร่วมไปมาในหน่วยความจำหลัก เนื่องจากหน่วยความจำเสมือนที่ผู้เขียนโปรแกรมใช้นั้น ถูกแยกออกเป็นอิสระจากหน่วยความจำหลักที่มีอยู่จริง ดังนั้นผู้ออกแบบระบบสามารถกำหนดหน่วยความจำเสมือนให้ใหญ่เพียงใดก็ได้ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมไม่ต้องคอยกังวลกับขนาดของโปรแกรม ข้อเสียของปล้องที่สำคัญคือการที่ปล้องต่างๆ มีขนาดไม่เท่ากัน และแต่ละปล้องต้องการเนื้อที่ที่ต่อเนื่องกันในหน่วยความจำจริง ทำให้เกิดปัญหาการจัดสรรในลักษณะการจักสรรแบบแปรตอน เช่น ทำให้เกิดสภาพหน่วยความจำหลักขาดวิ่น เป็นต้น
การแบ่งแผ่น
การจัดการหน่วยความจำหลักแบบแบ่งปล้องตามที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น เป็นวิธีกำหนดหน่วยความจำมโนทัศน์ ซึ่งต้องอาศัยความต้องการของผู้ใช้ระบบหรือผู้เขียนโปรแกรมเป็นหลัก สำหรับวิธีการจัดการหน่วยความจำหลักที่จะกล่าวถึงนี้ เป็นวิธีการลดความซับซ้อนของการแปลงระหว่างหน่วยความจำมโนทัศน์หรือเสมือนกับหน่วยความจำจริง
หลักการของการแบ่งแผ่น
วิธีการนี้เรียกว่าการแบ่งแผ่น (paging) ซึ่งหน่วยความจำเสมือนจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ มีขนาดเท่ากัน เรียกว่า แผ่น (page) ส่วนหน่วยความจำจริงก็ถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ มีขนาดเท่ากับแผ่นเช่นเดียวกัน เรียกว่า ช่องใส่แผ่น (page frame) ดังนั้นโปรแกรมและข้อมูลที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจำเสมือนจะถูกแบ่งออกตามการแบ่งเป็นแผ่นๆ ไปด้วย ดังนั้นสารสนเทศแต่ละแผ่นจะบรรจุลงในแต่ละช่องใส่แผ่นได้พอดีและในทำนองเดียวกับระบบแบ่งปล้อง ในรายการของแต่ละแผ่นจะมีแฟล็กบอกว่าแผ่นนั้นอยู่ในหน่วยความจำหลักหรือไม่ หากอยู่ก็ทำการแปลงตำแหน่งดังกล่าวทันที แต่ถ้าไม่ ระบบปฏิบัติการต้องอ่านเอาแผ่นที่ต้องการเข้ามาจากหน่วยความจำรอง ลักษณะการที่แผ่นที่ต้องการไม่อยู่ ในหน่วยความจำหลักนี้เรียกว่า การขาดแผ่น (page fault) ในระบบแบ่งแผ่นจะมีมาตรการสองอย่างที่สำคัญคือ มาตรการในการนำเข้า (fetch policy) ซึ่งโดยปกติใช้แบบการนำเข้าตามต้องการ (demand paging) และมาตรการในการแทนที่ (replacement policy) เพื่อเลือกแผ่นที่จะถูกแทนที่โดยแผ่นที่ถูกนำเข้ามาจากหน่วยความจำรอง
ข้อดีข้อเสียของการแบ่งแผ่น
ข้อดี : บางประการของการแบ่งแผ่นคล้ายคลึงกับการแบ่งปล้อง เช่น การทับซ้อนโดยอัตโนมัติ รวมถึงการแปลงตำแหน่งเสมือนไปเป็นตำแหน่งจริงโดยระบบทำให้เอง และการมีหน่วยความจำเสมือนที่ใหญ่กว่าของจริงได้ นอกเหนือจากนี้ การแบ่งแผ่นยังมีข้อดีอีกประการหนึ่ง คือ การที่แต่ละแผ่นเท่ากันหมด ดังนั้นในทางกายภาพ แผ่นใดจะสวมใส่อยู่ในช่องใส่แผ่นใดก็ได้ ทำให้ลดความซับซ้อนในการบรรจุแผ่นลงในหน่วยความจำหลัก และตัดปัญหาการขาดวิ่นของหน่วยความจำหลัก
ข้อเสีย : ของการแบ่งแผ่นคือ เป็นลักษณะการแบ่งด้วยระบบอัตโนมัติ ซึ่งการแบ่งเช่นนี้ไม่เป็นไปตามตรรกการแบ่งหน่วยของโปรแกรมและข้อมูล ทำให้การเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ของงานเดียวกันหรือระหว่างหลายงานซับซ้อนขึ้น
ระบบผนวก
ระบบแบ่งปล้องและแบ่งแผ่นที่ได้กล่าวแล้วนั้น ต่างก็มีข้อดีที่เสรมิสมรรถนะของระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมาก แต่ในแต่ละวิธีการนี้ยังมีข้อเสียอยู่ การกำจัดข้อเสียบางประการสามารถทำได้โดยผนวกวิธีการทั้งสองเข้าด้วยกัน การผนวกนี้กระทำได้ในสองลักษณะคือ การผนวกแบบแบ่งปล้องเป็นแผ่น และการผนวกแบบแบ่งปล้องตารางแผ่น
การผนวกแบบแบ่งเปล้องเป็นแผ่น
วิธีการผนวกระบบปล้องและแผ่นเข้าด้วยกัน แบบนี้เรียกว่า การผนวกแบบแบ่งปล้องเป็นแผ่น (paged segmentation) วิธีการนี้พยายามแก้ไขลักษณะสองประการที่ไม่ดีของปล้อง ประการแรกคือการที่ปล้องมีขนาดไม่เท่ากัน ทำให้ลำบากต่อการบรรจุโปรแกรมลงในหน่วยความจำหลัก ประการที่สองคือการที่โปรแกรมอาจใหญ่หรือรหัสส่วนมากในโปรแกรมไม่ค่อยได้ใช้ จึงไม่จำเป็นต้องนำเข้ามาหมดทั้งปล้อง แต่จะนำเฉพาะส่วนของปล้องที่ต้องการใช้เข้ามาเท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงใช้วิธีการแบ่งแผ่นมาแบ่งปล้องออกเป็นแผ่นมีขนาดเท่าๆ กัน ทำให้แก้ปัญหาทั้งสองที่เกิดขึ้นกับระบบปล้องนี้ได้
การผนวกแบบแบ่งปล้องตารางแผ่น ในระบบแบ่งแผ่นที่มีขนาดของหน่วยความจำเสมือนใหญ่มากๆ ขนาดของตารางแผ่นก็ใหญ่ตามไปด้วย เนื่องจากหน่วยความจำเสมือนที่มีขนาดใหญ่มากๆ โดยปกติถูกใช้เพียงส่วนน้อยเท่านั้น เนื้อที่ส่วนใหญ่จึงว่าง ดังนั้นรายการสำหรับแผ่นของบริเวณที่ว่างจะไม่มีความจำเป็น จึงสามารถตัดแบ่งตารางแผ่นออกเป็นส่วนหรือเป็นปล้อง โดยเก็บเฉพาะปล้องที่บรรจุรายการแผ่นที่ไม่ว่างเท่านั้น ลักษณะนี้เรียกว่าการผนวกแบบแบ่งปล้องตารางแผ่น (segmented paging)
การใช้สารสนเทศร่วมกัน
ในระบบสารสนเทศโดยทั่วไปแล้ว การใช้โปรแกรมหรือข้อมูลร่วมกันจะช่วยลดความซ้ำซ้อนและความลักลั่นระหว่างงานของผู้ใช้ต่างๆ กันได้ สำหรับในระบบมัลติโปรแกรมมิ่งแล้ว การใช้สารสนเทศร่วมกันยังหมายถึงการประหยัดเนื้อที่ในหน่วยความจำด้วย เช่น หากมีสามกระบวนการต้องการแปลโปรแกรมด้วยตัวแปลภาษาฟอร์แทรนในเวลาเดียวกัน หากไม่มีการใช้โปรแกรมร่วมกัน กระบวนการทั้งสามก็ต้องมีสำเนาของตัวแปลภาษาฟอร์แทรนไว้กระบวนการละชุด ทำให้สิ้นเปลืองกว่ามีตัวแปลภาษาฟอร์แทรนปรากฏอยู่ในระบบให้ดำเนินได้เพียงชุดเดียว แต่ทั้งนี้ในระบบหน่วยความจำเสมือน นอกจากว่าโปรแกรมที่ใช้ร่วมกันจะต้องเป็นแบบใช้ร่วมกันได้ (reentrant) แล้ว ยังมีปัญหาว่า แต่ละกระบวนการมีตารางสำหรับแปลงตำแหน่งเสมือนที่เป็นเอกเทศแยกจากตารางการแปลงของกระบวนการอื่น ดังนั้นจึงต้องมีหลักปฏิบัติเพื่อให้ การอ้างอิงในหน่วยความจำเสมือนของหลายกระบวนการสมนัยกับตำแหน่งจริงของสารสนเทศที่ใช้ร่วมกันนั้น

สรุปผลการเรียนวันที่ 4 กันยายน 2556

การจัดการหน่วยความจำ
หน่วยความจำเป็นทรัพยากรที่สำคัญอีกประการหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปถ้ากล่าวคำว่า “หน่วยความจำ” เราจะหมายถึง เฉพาะหน่วยความจำปฐมภูมิ หรืออาจเรียกว่าหน่วยความจำหลักการจัดการหน่วยความจำ การจัดการหน่วยความจำเป็นหน้าที่อีกประการหนึ่งของ OS หน่วยความจำเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการพิจารณาขีดความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำมาก ขีดความสามารถในการทำงานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย โปรแกรมที่มีความสลับซับซ้อน และ มีความสามารถมากมัก ต้องการหน่วยความจำปริมาณมากด้วย แต่หน่วยความจำเป็นทรัพยากรที่มีราคาแพง และ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กหน่วยความจำมีขนาดจำกัด ทำให้เราไม่สามารถขยายขนาดหน่วยความจำได้มากตามที่ต้องการ จึงจำเป็นต้องใช้หน่วยความจำ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อความสะดวกของผู้ใช้เราจึงยกการจัดการหน่วยความจำนี้ให้เป็นหน้าที่ของ OS เช่น ตรวจดูว่าโปรแกรมใหม่จะถูกนำไปวางไว้ในหน่วยความจำที่ไหน เมื่อใด หน่วยความจำไหนควรถูกใช้ก่อน หรือหลัง โปรแกรมไหนจะได้ใช้หน่วยความจำก่อน
หน่วยความจำเสมือน
พัฒนาการของการจัดการหน่วยความจำได้มีการพัฒนาเทคนิคหรือวิธีการต่างๆ เพื่อตอบสนองการทำงานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น การรันโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมที่มีความรวดเร็ว และสามารถรันงานที่มีขนาดใหญ่กว่าหน่วยความจำที่มีอยู่จำกัดได้อย่างไร
ในส่วนของหน่วยความจำเสมือนนี้ มีแนวคิดที่ว่า จะไม่สนใจว่าระบบคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่นั้นมีหน่วยความจำขนาดเท่าใด แต่อย่างไรก็ตามจะต้องสามารถรันงานที่มีขนาดใหญ่โตหรืองานที่ต้องการใช้หน่วยความจำมหาศาลได้ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะต้องจัดสรรหน่วยความจำเพื่อบริการสิ่งเหล่านี้ได้และเป็นที่ทราบกันดีว่า หน่วยความจำนั้นราคาแพง การขยายหน่วยความจำให้มีขนาดเพิ่มขึ้นนั้นก็ไม่เป็นทางออกที่ดีที่สุด  กล่าวคือถึงแม้ว่าจะมีการเพิ่มขยายหน่วยความมากเท่าใดก็มิอาจจะเพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้งานอยู่ดี เนื่องจากว่าในปัจจุบันนี้โปรแกรมต่างๆ หรือข้อมูลต่างๆ นั้นมักเป็นลักษณะของภาพ, ฐานข้อมูล,มัลติมีเดีย ที่มีขนาดใหญ่โต และการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็มักโหลดต่างๆ มากกว่าหนึ่งงาน ทำให้จำเป็นต้องใช้งานหน่วยความจำที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงมีวิธีการหนึ่งที่เรียกว่าหน่วยความจำเสมือน โดยการนำหน่วยความจำสำรอง เช่น ฮาร์ดดิสก์มาจำลองเป็นหน่วยความจำหลัก และที่สำคัญฮาร์ดดิสก์นั้นมีขนาดความจุสูงกว่าหน่วยความจำหลักมาก และมีราคาถูก
หน่วยความจำเสมือนนี้ใช้แนวคิดของการทำงานแบบโอเวอร์เลย์ด้วยการโหลดโปรแกรมที่จำเป็นต่อการใช้งานงานไว้ในหน่วยความจำ กล่าวคือโปรแกรมทั่วๆไป จะเริ่มทำงานจากส่วนท้ายๆ ก็ยังไม่ถูกใช้ หรือขณะนั้นทำงานอยู่ในส่วนท้ายโปรแกรม โปรแกรมส่วนต้นก็ไม่ได้ถูกใช้ ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องนำโปรแกรมทั้งหมดที่มีอยู่มาลงไว้ในหน่วยความจำ หลักการของหน่วยความจำเสมือนนี้เป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการที่จัดการดูแลเองโดยผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องรับรู้ในการทำงานในส่วนนี้ ซึ่งต่างกับโอเวอร์เลย์ที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องเขียนขึ้นเอง

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

สรุปผลการเรียนวันที่ 28 สิงหาคม 2556

CPU Scheduling (การกำหนดการใช้ซีพียู)
อัลกอริธึมที่เลือกโปรเซสเข้าไปใช้ซีพียูนั้นมีหลายอัลกอริธึม ระบบคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องพิจารณาเลือกใช้อัลกอริธึมที่เหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเป้าหมายของระบบคอมพิวเตอร์นั้นๆ โดยที่เป้าหมายของระบบอาจเป็นข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ หรือมีหลายเป้าหมายประกอบกัน
1. มาก่อนบริการก่อน (First-Come, First-Serve Scheduling : FCFS) เป็นอัลกอริทึมที่ง่ายที่สุด โดยจะกำหนดให้โปรเซสที่ ร้องขอซีพียูก่อนเป็นโปรเซสที่ได้รับซีพียูก่อน เมื่อมีโปรเซสที่อยู่ในสถานะพร้อมที่จะทำงาน โปรเซสนั้นจะถูกนำเข้าไปต่อท้ายคิวพร้อม เมื่อซีพียูว่าง ระบบปฏิบัติการจะเรียกกำหนดการซีพียู เพื่อให้พิจารณามอบซีพียูให้แก่โปรเซสที่อยู่ต้นคิวของคิวพร้อม
2. งานสั้นทำก่อน (Shortest-Job First Scheduling : SJF) เป็นอัลกอริทึมมาก่อนบริการก่อนนั้น พบว่า ค่าเฉลี่ยของเวลาครบวงงาน และค่าเฉลี่ยของเวลารอมีค่าสูง โดยเฉพาะกรณีที่ในคิวพร้อมมีโปรเซสที่ต้องการใช้ซีพียูเป็นเวลาที่แตกต่างกันอัลกอริทึมของงานสั้น
ทำก่อนจะพยายามลดค่าเฉลี่ยของเวลาครบวงงาน และค่าเฉลี่ยของเวลารอ โดยกำหนดให้โปรเซสที่ต้องการใช้ซีพียูเป็นระยะเวลาน้อยได้เข้าใช้ซีพียูก่อนโปรเซสที่ต้องการใช้ซีพียูเป็นระยะเวลานาน
3. ลำดับความสำคัญ (Priority Scheduling)
เป็นวิธีจัดลำดับการใช้ซีพียูโดยกำหนดลำดับความสำคัญ (Priority) ให้แต่ละโปรเซส โดยระบบจะต้องกำหนดว่า
• ให้ตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุด แสดงถึงลำดับความสำคัญน้อยที่สุด
• ให้ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุด แสดงถึงลำดับความสำคัญมากที่สุด
• ให้ตัวเลขที่มีค่าน้อยที่สุด แสดงถึงลำดับความสำคัญมากที่สุด
• ให้ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุด แสดงถึงลำดับความสำคัญน้อยที่สุด
4. วิธีวนรอบ (Round-Robin Scheduling : RR) อัลกอริทึมนี้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สำหรับระบบแบ่งเวลา โดยมีการทำงานเหมือนอัลกอริทึมแบบมาก่อนบริการก่อน แต่กำหนดให้โปรเซสใช้ซีพียูในเวลาที่จำกัด เรียกว่า เวลาควอนตัม (Quantum time)  หรือ การแบ่งเวลา (Time slice)
5. คิวหลายระดับ (Multilevel Queue Scheduling) อัลกอริธึมของการจัดลำดับวิธีนี้ ถูกสร้างขึ้นจากแนวความคิดที่ว่า โปรเซสสามารถถูกแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆได้หลายกลุ่ม เช่น งานระบบ ( system process ) และงานกลุ่ม ( batch process ) โดยแต่ล่ะกลุ่มมีเวลาการตอบสนองที่ต่างกัน จึงย่อมต้องการการจัดลำดับที่แตกต่างกันด้วย
การจัดการหน่วยความจำ
หน่วยความจำภายใน (Internal Memory)
บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจำแคช ประกอบด้วยรีจิสเตอร์ความเร็วสูง หน่วยความจำส่วนนี้ส่วนนี้ถูกใช้สำหรับเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ต้องการทำงานด้วยความเร็วสูงมาก และเป็นหน่วยความจำที่หน่วยประมวลผลกลางสามารถเข้าถึงได้โดยตรงและรวดเร็ว
หน่วยความจำหลัก(Main Memory)
หน่วยความจำหลัก เป็นศูนย์กลางของการทำงานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน หน่วยความจำหลักในพื้นที่
เก็บข้อมูลขนาดเป็น ไบต์ (byte) โดยแต่ละไบต์จะมีแอดเดรส (address) บอกตำแหน่งของตัวเอง และโดยทั่วไปแล้วโปรแกรมเมอร์ล้วนแต่ต้องการระบบที่มีหน่วยความจำหลักแบบไม่จำกัด,มีความเร็วสูง , และมีหน่วยความจำที่มีความเสถียรสูงหรือเป็นแบบไม่ถูกลบเลือน
หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
เป็นหน่วยความจำที่มีความเร็วน้อยกว่าหน่วยความจำสองประเภท ใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ และยังไม่ต้องการนำมาประมวลผล
การยึดเหนี่ยวเลขที่อยู่ (Address Binding)
- เวลาแปรโปรแกรม (Compile Time)
เมื่อนำโปรแกรมต้นฉบับที่ระบุตำแหน่งของหน่วยความจำหลักด้วยเลขที่อยู่สัมบูรณ์ผ่านการแปลด้วยคอมไพเลอร์ จะได้ object program
- เวลาโหลด (Load Time)
เมื่อนำโปรแกรมต้นฉบับที่ระบุตำแหน่งของหน่วยความจำหลักด้วยการใช้เลขที่สัมพัทธ์ ผ่านคอมไพเลอร์ จะได้ object program ที่อ้างถึงตำแหน่งของหน่วยความจำหลักด้วยเลขที่สัมพัทธ์
- เวลากระทำการ (Execution Time)
โปรแกรมต้นฉบับถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆแต่ล่ะส่วนถูกใช้ไม่พร้อมกัน เช่น ส่วนที่รับข้อมูล ส่วนที่ประมวลผลข้อมูล และส่วนที่แสดงผลลัพธ์
- การซ้อนทับ (Overlays)
โดยทั่วไปแล้ว งาน หรือ โปรแกรม หรือ โปรเซส ที่ต้องการประมวลผลยูวีพียู จะต้องถูกบรรจุในหน่วยความจำหลัก นั่นคือโปรเซสจะต้องมีขนาดน้อยกว่าหรือเท่ากับขนาดของหน่วยความจำหลักลบด้วยขนาดของระบบปฏิบัติการ

วันอาทิตย์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ประวัติส่วนตัว (สอบแก้!!)

นาย รณกร ประดิษฐ์นอก
ชื่อเล่น แบงค์
เกิดวันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน พ ศ .2536
อายุ 20 ปี
อยุ่บ้านเลขที่ 551 หมู่ 5 ต.น้ำอ้อม อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
จบจากโรงเรียนบึงมะลูวิทยา
ปัจจุบันศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
คณะ วิทยาการคอมพิวเตอร์
หมู่เรียน 56.11.6
คติประจำใจ ตายไปเวลานอนมีตลอดชีวิต

วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

การจัดการเวลา CPU

การจัดการเวลา CPU
การจัดเวลาซีพียู (CPU Scheduling) เป็นหลักการทำงานหนึ่งของระบบปฏิบัติการที่ทำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถในการรันโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ซึ่งการแบ่งเวลาการเข้าใช้ซีพียูให้กับโปรเซสที่อาจถูกส่งมาหลายๆ โปรเซสพร้อมๆกัน ในขณะที่ซีพียูอาจมีจำนวนน้อยกว่าโปรเซส หรืออาจมีซีพียูเพียงตัวเดียว จะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ปริมาณงานที่มากขึ้นกว่าการที่ให้ซีพียูทำงานให้เสร็จทีละโปรเซส ในบทนี้ เราจะมาพูดถึงอัลกอริทึมพื้นฐานของการจัดเวลาซีพียูนี้ โดยจะพูดถึงวิธีการหลักๆ ที่แต่ละอัลกอริทึมมีแตกต่างกัน ข้อดีข้อเสีย และความเหมาะสมต่อระบบงานแบบต่างๆ เพื่อการเลือกใช้อย่างถูกต้อง
1. Scheduling Criteria
1.1 การใช้ประโยชน์หน่วยประมวลผลกลาง (CPU utilization)
1.2 ประมาณงาน (Throughput)
1.3 เวลาโดยรวม (Turnaround time)
1.4 เวลาคอย (Waiting time)
1.5 เวลาตอบสนอง (Response time)
2. Scheduling Algorithms
หน้าที่ของตัวจัดคิวคือ คัดเลือกโปรเซสซึ่งรออยู่ในสถานะพร้อมที่เหมาะสมที่สุดให้เข้าไปอยู่ในสถานะรัน (ได้ครอบครองซีพียู) โดยแท้จริงแล้วการส่งโปรเซสที่ถูกเลือกแล้วให้เข้าไปอยู่ในสถานะรัน เป็นหน้าที่ของโปรเซสของ OS ที่ชื่อตัวส่ง (dispatcher) ในแง่การทำงานแล้วตัวจัดคิวจะเป็นผู้คัดเลือกโปรเซสและเรียกให้ตัวส่งส่งโปรเซสที่ถูกเลือกแล้วเข้าไปในสถานะรันเป็นความรับผิดชอบของตัวจัดคิว
2.1 การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน (FCFS : First-come First-served Scheduling)
การจัดคิวแบบ FCFS (first-come-first-served) วิธีการคัดเลือกแบบ FCFS นี้เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด คือ โปรเซสไหนเข้ามารอในคิวก่อนจะได้ครอบครองซีพียูก่อน ตามลำดับเวลาของการเข้ามาอยู่ในคิว คือ “มาก่อนได้ก่อน” โปรเซสที่ได้ครอบครองซีพียูจะทำงานไปจนเสร็จ ไม่มีระยะเวลาควอนตัมซึ่งจำกัดเวลาการครอบครองซีพียู แต่ถ้าโปรเซสมีการเรียกใช้งานอุปกรณ์อินพุต-เอาต์พุต หรือรอเหตุการณ์บางอย่าง โปรเซสนั้นต้องปลดปล่อยซีพียู และออกจากสถานะรันไปอยู่ในสถานะติดขัด เมื่อใดที่งานเสร็จสิ้นลงหรือเกิดเหตุการณ์ที่กำลังรออยู่ โปรเซสนั้นจึงค่อยกลับเข้าไปอยู่ต่อท้ายคิวของสถานะพร้อมใหม่อีกครั้ง
เราอาจแสดงการเปลี่ยนสถานะของโปรเซสโดยใช้การจัดคิวแบบ FCFS ซึ่งจะเห็นว่าแตกต่างกับรูปแสดงการเปลี่ยนสถานะของโปรเซสที่เคยกล่าวมาคือ ไม่มีการเปลี่ยนสถานะของโปรเซสจากสถานะรันมายังสถานะพร้อมโดยตรง
2.2 การจัดเวลาแบบงานสั้นทำก่อน (SJF : Short-Job-First Scheduling)
การจัดคิวแบบ SJN (shortest job next) การคัดเลือกโปรเซสด้วยวิธีนี้ จะคัดเลือกเอาโปรเซสที่ต้องการเวลาในการทำงานน้อยที่สุด ทำให้โปรเซสที่ต้องการเวลาในการทำงานน้อยจบออกไปได้เร็วขึ้น จำนวนโปรเซสในระบบที่รออยู่ในคิวมีก็จะมีจำนวนลดลง และทำให้เวลาโดยเฉลี่ยในการทำงาน 1 งานเสร็จหรือเวลาครบงาน (turnaround time) น้อยลงแต่การจัดคิวแบบนี้เป็นผลเสียต่อโปรเซสที่ต้องการเวลาในการทำงานนาน
2.3 การจัดเวลาตามลำดับความสำคัญ (Priority Scheduling)
การจัดคิวแบบลำดับความสำคัญ (priority queue) คิวแบบลำดับความสำคัญมีลักษณะแตกต่างกับคิวธรรมดา ภายในคิวจะมีการจัดเรียงลำดับของโปรเซสต่าง ๆ ตามลำดับความสำคัญของโปรเซสนั้น โปรเซสที่อยู่ต้นคิวจะมีลำดับความสำคัญมากที่สุด และลดลงเรื่อย ๆ โปรเซสที่อยู่ท้ายคิวคือโปรเซสที่มีลำดับความสำคัญต่ำสุด การคัดเลือกโปรเซสจะเอาโปรเซสที่อยู่ต้นคิว (มีลำดับความสำคัญสูงสุด) เข้าไปครอบครองซีพียูก่อน ดังนั้นถึงแม้ว่าโปรเซสที่เข้าคิวทีหลังแต่มีลำดับความสำคัญสูงกว่าก็อาจได้เข้าไปครอบครองซีพียูก่อน โปรเซส E เข้าคิวเป็นโปรเซสหลังสุด แต่จะได้ครอบครองซีพียูก่อนโปรเซส C และ D
2.4 การจัดเวลาแบบวนรอบ (RR : Round-Robin Scheduling)
การจัดคิวแบบ RR (round-robin) การจัดคิวแบบ RR อาจเรียกว่าเป็นการจัดคิวแบบมีการวนรอบ ลักษณะการคัดเลือก โปรเซสในคิวจะเป็นแบบ FCFS คือ “มาก่อนได้ก่อน” แต่ต่างกันนิดหน่อยตรงที่การครอบครองซีพียูของโปรเซสในสถานะรันจะถูกจำกัดเวลาไว้ด้วยระยะเวลาควอนตัม ทำให้โปรเซสที่ต้องการเวลาในการทำงานนานจะต้องเปลี่ยนสถานะหมุนระหว่างสถานะพร้อมและสถานะรัน
การจัดคิวแบบ RR สามารถแก้ปัญหาการคอยนานของโปรเซสที่ต้องการเวลาทำงานน้อย ๆ ได้ลองกลับไปพิจารณาเหตุการณ์สมมติซึ่งกล่าวไว้ในหัวข้อที่แล้ว ถ้าระบบกำหนดเวลาควอนตัมเป็น 1 วินาที โปรเซส A ต้องมีการวนรอบเปลี่ยนสถานะระหว่างสถานะรันและสถานะพร้อม 15 ครั้ง โปรเซส B 1 ครั้ง โปรเซส C 10 ครั้ง เมื่อโปรเซส A เข้าไปอยู่ในสถานะรันครั้งแรกและกลับออกมา โปรเซส B จะได้ครอบครองซีพียูได้และ ทำงานเสร็จโปรเซส B จบและออกจากระบบไปเลยเหลือเพียง 2 โปรเซสที่อยู่ในคิวของสถานะพร้อม โปรเซสถัดไปที่จัดได้ครอบครองซีพียูคือ C โปรเซส C และ A จะสลับกันครอบครองซีพียูกันโปรเซสละ 1 วินาที จนกระทั่งโปรเซส C จบ เหลือโปรเซส A เพียงโปรเซสเดียว เป็นแผนภาพแสดงการสลับกันทำงานของโปรเซสทั้ง 3 และเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการจัดคิวแบบ RR
2.5 การจัดเวลาแบบคิวหลายระดับ (Multilevel Queue Scheduling)
เพื่อให้การจัดคิวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการนำหลาย ๆ เทคนิคมาประยุกต์เข้าด้วยกัน เป็นการจัดคำแบบวนรอบ ที่คำนึงถึงความสำคัญของงาน ทำให้งานที่มีความสำคัญเหมือนกันอยู่ในคิวเดียวกัน และให้งานสำคัญน้อย ๆ อยู่ในคิวที่สำคัญน้อยเช่นกัน
3. การประเมินอัลกอริทึม (Algorithm Evaluation)
จากที่ได้ศึกษาอัลกอริทึมทั้ง 5 แบบ สำหรับการจัดเวลาซีพียูมาแล้ว ก็ต้องเลือกอัลกอริทึมที่จะใช้งาน สำหรับเลือกงานเข้าประมวลผล มีหลาย ๆ วิธีในการพิจารณาอัลกอริทึม ที่ต้องคำนึงถึง CPU utilization, Response time และ Throughput เพื่อให้ได้ผลออกมาดีที่สุด
หลักเกณฑ์การพิจารณาอัลกอริทึมเข้าประมวลผล
1. ให้ใช้ซีพียูสูงสุด โดยช่วงเวลาตอบสนองต่ำสุด
2. ให้มีเวลารวม หรือวนรอบที่เหมาะสม กับเวลาที่ต้องใช้ประมวลผลทั้งหมด
3.1 วิธีกำหนดโมเดล (Deterministic modeling)
วิธีนี้มีข้อจำกัดมากเกินไปสำหรับการนำมาใช้ในปัจจุบัน เพราะวิธีนี้จะเป็นวิธีที่ง่าย ได้ตัวเลขออกมาแน่นอน จากตัวอย่างข้อมูลจำนวนหนึ่งที่ป้อนเข้าไป แต่ผลลัพธ์ไม่มีความน่าเชื่อถือมากพอ เพราะในสถานการณ์จริงจะมีข้อมูลที่ซับซ้อนกว่ามาก เช่นเลือกอัลกอริทึมมาพิจารณา 3 แบบ คือ FCFS, SJF และ RR ซึ่งผลของการพิจารณาแต่ละอัลกอริทึมจะออกเป็นตัวเลขให้เลือก การเลือกเป็นสิ่งที่ตัดสินใจได้ง่าย แต่ไม่อาจไม่เหมาะที่จะใช้งานจริง
3.2 วิธีจัดเมเดลของคิว (Queueing models)
วิธีนี้มีปัญหาการคำนวณค่าเฉลี่ยของการกระจายในระบบที่มีความซับซ้อน เมื่อพิจารณาในระบบเครือข่ายที่แบ่งกลุ่มงานออกเป็นสถานี หรือสายการผลิตที่มีคิวของตนเอง ถ้าทราบเวลาที่ให้บริการของแต่ละสายการผลิต และรู้เวลาที่แต่ละงานเข้าคิว ก็จะหาค่าต่าง ๆ ได้ตามต้องการ วิธีนี้เรียกว่า queueing network analysis
จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้สูตร al = at * w (ค่าเฉลี่ยความยาวของคิว = ค่าเฉลี่ยของงานใหม่เข้ามา * ค่าเฉลี่ยการรอคอย) เช่น เวลาเฉลี่ยในคิวคือ 10 วินาที ถ้างานใหม่ต้องรอเข้าคิวประมาณ 2 วินาที และแต่ละงานต้องคอยเข้าหน่วยประมวลผล 5 วินาที
3.3 วิธีจำลองสถานการณ์ (Simulations)
วิธีนี้จะพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมา เสมือนเป็นหุ่นจำลอง พร้อมกำหนดสภาพแวดล้อม และตัวแปรคำนวณเวลาให้อยู่ในการควบคุม โดยเวลาของสถานการณ์กำหนดได้ 2 แบบคือ แบบสุ่ม หรือแบบข้อมูลจริง นอกจากนั้นยังต้องมี trace tape เก็บข้อมูลในช่วงเวลาต่าง ๆ และนำมาเปรียบเทียบ สำหรับวิธีการนี้ต้องอาศัยเวลา และค่าใช้จ่าย เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เที่ยงตรง
3.4 วิธีติดตั้งจริง (Implementation)
วิธีนี้ไม่นิยมปฏิบัติ แม้แบบจำลองจะไม่มีทางเหมือนจริง จึงมีแนวคิดว่าเขียนขึ้นมาใช้จริงเพื่อให้ได้ข้อมูลจริง แต่วิธีนี้ต้องลงทุนสูงมาก นอกจากต้องเขียนโปรแกรมของอัลกอริทึมแต่ละตัว ยังต้องใช้เวลา และแรงงานเปลี่ยนการทำงานของโปรแกรม การจัดการระบบเพื่อให้รองรับอัลกอริทึมแบบต่าง ๆที่จะนำมาทดลอง ซึ่งแต่ละอัลกอริทึมอาจต้องการฮาร์ดแวร์ที่พิเศษ และคอมพิวเตอร์ก็มิได้เปลี่ยนอุปกรณ์กันได้ง่าย

วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ภาวะติดตายหรือDeadlock

ภาวะติดตายหรือDeadlock คืออะไร
การติดตาย(Deadlocks) คือเมื่อโปรเซสต้องการใช้ทรัพยากร และร้องขอทรัพยากรจากระบบ แต่ทรัพยากรที่โปรเซสต้องการใช้ไม่ว่าง เนื่องจากโปรเซสอื่นกำลังใช้งานอยู่ ทำให้โปรเซสนั้นๆ ต้องรอคอย และเป็นการรอคอยที่ไม่มีที่สิ้นสุด (โปรเซสไม่มีโอกาสได้รับการจัดสรรทรัพยากร) เช่น โปรเซส A ต้องการใช้เครื่องพิมพ์ แต่เครื่องพิมพ์ถูกใช้โดยโปรเซส B ทำให้โปรเซส A ต้องรอจนกว่าเครื่องพิมพ์จะว่าง ส่วนโปรเซส B อยู่ในสถานะรอให้ทรัพยากรอื่นว่างเช่นกัน ทำให้โปรเซส A ไม่มีโอกาสได้รับจัดสรรให้ใช้เครื่องพิมพ์ ซึ่งเป็นการรอคอยอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
ลักษณะการติดตาย
1. การไม่เกิดร่วม (Mutual Exclusion)
ในกรณีที่เป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ ทาให้ทรัพยากรถูกใช้งานได้เพียงครั้งละ 1 โปรเซส คือ ขณะเวลาหนึ่งจะมีเพียงโปรเซสเดียวที่ใช้งานทรัพยากรได้ ไม่สามารถมีโปรเซสอื่นใช้งานทรัพยากรพร้อมกันได้
2. การครอบครองและการรอใช้ทรัพยากร (Hold and Wait)
โปรเซสที่ได้ครอบครอง (hold) ทรัพยากรอยู่แล้ว ต้องการใช้ทรัพยากรอื่นเพิ่มเติม และร้องขอทรัพยากรที่มีสถานะไม่ว่าง ทาให้โปรเซสต้องรอ (Wait)
3. การไม่แย่งชิงทรัพยากร (No Preemptive)
โปรเซสที่รอใช้ทรัพยากรต่อจากโปรเซสอื่น (ที่กาลังใช้ทรัพยากรนั้นอยู่) จะต้องรอจนกว่าโปรเซสนั้นๆ ทางานเสร็จ และปลดปล่อยทรัพยากร โปรเซสไม่สามารถแย่งชิงทรัพยากรจากโปรเซสอื่นได้
4. การรอแบบวงกลม (Circulate Wait)
โปรเซสเกิดการรอเป็น วัฏจักร (P0, P1, P2, …, Pn) โดย
P0 รอทรัพยากรที่ถูกครอบครองโดย P1
P1 รอทรัพยากรที่ถูกครอบครองโดย P2
……………………………………………………………………
Pn-1 รอทรัพยากรที่ถูกครอบครองโดย Pn
Pn รอทรัพยากรที่ถูกครอบครองโดย P0
การเกิดติดตายจะต้องมีครบทั้ง 4 เงื่อนไข โดยเงื่อนไขทั้ง 4 ข้อนี้ ไม่ได้เป็นอิสระต่อกัน คือ ถ้าเกิดการรอแบบวงกลมแล้ว จะทาให้เกิดการครอบครองและรอ เป็นต้น
ตัวอย่างของเหตุการณ์ที่เกิดการติดตาย
• การติดตายในการจราจร
• การติดตายในการใช้ทรัพยากร
การหลีกเลี่ยงการติดตาย
ทางเลือกหนึ่งก็คือยอมให้เกิด 3 กรณีดังนี้ อนุญาตให้ใช้ทรัพยากรร่วมกันด้ให้โปรเซสร้องขอทรัพยากรทั้งหมด ก่อน และให้ระบบแทรกกางคัน แต่ระบบต้องใช้วิจารณญาณในการเลือกระบบต้องมีความสามารถตัดสินใจว่าในกรณีที่ทรัพยากรหนึ่งๆนั้นจะทำให้ระบบปลอดภัยหรือไม่ และจะอนุญาตให้โปรเซสนั้นได้รับทรัพยากร ถ้าระบบปลอดภัยเท่านั้น
การตรวจสอบการติดตาย
1. จะตรวจสอบเมื่อใดและบ่อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับ
– ความถี่หรือโอกาสที่จะเกิดสภาวะติดายในระบบ
– จำนวนโปรเซสที่ต้องทำงานย้อนหลัง
2. ถ้าอัลกอริทึมตรวจหาสภาวะติดตายถูกนำมาใช้อย่างไม่สมบรูณ์ อาจเป็นไปได้ว่าจะเกิด Cycle ขึ้นหลาย Cycle จนทำให้ไม่สามารถบอกได้ว่าโปรเซสใดอยู่ในกลุ่ม Cycle